บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทำงานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทำงานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก
จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และอธิบายโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะรับสัมผัสแต่ละประเภทพร้อมทั้งนำความรู้ความเข้าใจมาใช้ และหาวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
Sensory organs 1. นัยน์ตากับการมองเห็น 2. หูกับการได้ยิน 3. จมูกกับการดมกลิ่น 4. ลิ้นกับการรับรส 5. ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
นัยน์ตากับการมองเห็น นัยน์ตาของคนมีรูปร่างค่อนข้างกลม อยู่ภายในเบ้าตา มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 cm มีผนังเรียงจากด้านนอก --- ด้านใน คือ sclera choroid retina
Eye Anatomy http://www.matossianeye.com/anatomy.htm
http://whyfiles.org/163amd_eye/
Sclera Sclera เป็นชั้นที่เหนียว ไม่ยืดหยุ่น เป็นส่วนที่เรียกว่าตาขาวด้านหน้าสุด คือ กระจกตา (cornea) http://www.cdha.nshealth.ca/transplantservices/cornea.html
Choroid Choroid เป็นชั้นที่มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยง และมีรงควัตถุแผ่กระจายอยู่มากมาย ประกอบด้วย ม่านตา (Iris) ซึ่งตรงกลางจะมีรูม่านตา (Pupil) เลนส์ตา ซึ่งสามารถปรับโฟกัสได้โดยการทำให้นูนขึ้นและบางลง โดยกล้ามเนื้อยึดเลนส์ http://www.webmd.com/hw/health_guide_atoz/tp9807.asp
Retina Retina เป็นชั้นที่ทำหน้าที่คล้ายกับจอรับภาพ ประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด คือ เซลล์รูปแท่ง (rod cell) เป็นเซลล์ที่ไวต่อแสง สามารถทำงานได้แม้มีแสงน้อย แต่ไม่สามารถบอกความแตกต่างของสีได้ เซลล์รูปกรวย (cone cell) มี 3 ชนิด คือ ชนิดที่รับแสงสีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน จะทำงานได้ต่อเมื่อต้องมีแสงสว่างเพียงพอ
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Retina http://www.usm.maine.edu/psy/broida/101/retina.JPG
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Ratina ตามปกติ ratina จะมีเซลล์รูปแท่งหนาแน่นกว่า เซลล์รูปกรวย จุดเหลือง (fovea) เป็นบริเวณที่มีเซลล์รูปกรวยอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้รับภาพได้ชัดเจนที่สุด จุดบอด (blind spot) เป็นบริเวณที่ไม่มีเซลล์ที่รูปแท่งและรูปกรวยอยู่เลย จึงไม่สามารถรับภาพและแสงได้
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Lens เลนส์ตา (Lens) เป็นเลนส์นูน อยู่ถัดจากกระจกตา ทำหน้าที่ รวมแสง ทำให้เกิดภาพ การหักเหของแสง ขึ้นอยู่กับความโค้งของเลนส์และกระจกตา เลนส์ตาถูกยึดด้วย เอ็นยึดเลนส์ (suspensory ligament) อยู่ติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์ (ciliary muscle)
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
สายตาผิดปกติ คนที่เห็นภาพได้ไม่ชัดเจน เกิดจากความผิดปกติของเลนส์ตา , กล้ามเนื้อยึดเลนส์ , กระจกตา สายตาสั้น - ใส่แว่นตาเลนส์เว้า (concave lens) สายตายาว - ใส่แว่นตาเลนส์นูน (convex lens) สายตาเอียง - ใส่แว่นตาเลนส์ทรงกระบอก (cylindrical lens)
สายตาผิดปกติ http://lawrenceandmayo.co.in/newsite3/opticals/eyesight.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Where the parts of an eye are located Lens - Immediately behind the iris Cornea - The dome on the front of the eye Retina - Rear of the eye Pupil - Middle front of the eye Iris - Right around the pupil Optic nerve - Connects to the center of the retina Sclera - The outer part of the eye that forms the white around the pupil and iris
กลไกลการมองเห็น สารที่ม่วงที่เยื่อหุ้มเซลล์รูปแท่ง คือ rhodopsin ประกอบด้วย โปรตีน opsin รวมตัวกับสาร retinol ซึ่งไวต่อแสง http://www.thebrain.mcgill.ca/flash/a/a_02/a_02_m/a_02_m_vis/a_02_m_vis.html
http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Bio%20Pix.htm
ความสามารถในการแยกสีต่าง ๆ เซลล์รูปกรวยไวต่อความยาวคลื่นของแสง 3 ชนิด คือ สีน้ำเงิน เขียว แดง เราสามารถมองเห็นสีได้มากกว่า 3 สี เพราะ มีการกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ละชนิดพร้อม ๆ กัน จึงเกิดการผสมแสงสีต่าง ๆ http://www.thebrain.mcgill.ca/flash/a/a_02/a_02_m/a_02_m_vis/a_02_m_vis.html
ตาบอดสี (blindness) เกิดจากความบกพร่องของเซลล์รูปกรวย ตาบอดสีพบมากที่สุด คือ ตาบอดสีแดงและสีเขียว เป็นโรคทางพันธุกรรม พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
แผ่นทดสอบตาบอดสี http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
หูกับการได้ยิน หู ทำหน้าที่ เกี่ยวกับ การได้ยิน และการทรงตัว แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก (external ear) หูส่วนกลาง (middle ear) หูส่วนใน (internal ear)
Ear anatomy http://www.hearingaidcentral.com/howtheearworks.asp
External ear หูส่วนนอก ทำหน้าที่ รับคลื่นเสียง และเป็นทางเดินให้เสียงผ่าน ประกอบด้วย 1.ใบหู มีกระดูกอ่อนค้ำจุน 2. รูหู มีต่อมสร้างไขมาเคลือบไว้ ทำให้ผนังรูหูไม่แห้ง และป้องกันอันตรายจากแมลง และฝุ่นละออง รอยต่อระหว่างหูส่วนใน และหูส่วนกลาง มีเยื่อบาง ๆ กั้นอยู่ เรียกว่า เยื่อแก้วหู (ear drum , typanic memmbrane) สามารถสั่นได้เมื่อได้รับคลื่นเสียง
http://www.hearingaidcentral.com/howtheearworks.asp
Middle ear หูส่วนกลาง มีลักษณะเป็นโพรง ติดต่อกับโพรงจมูก และมีท่อติดต่อกับคอหอย เรียกท่อนี้ว่า eustachian tube ปกติท่อนี้จะตีบ แต่ในขณะเคี้ยว หรือกลืนอาหาร ท่อนี้จะเปิด เพื่อปรับความดัน 2 ด้านของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน ความแตกต่างระหว่างความดันภายในกับภายนอกหู ทำให้เยื่อแก้วหูโป่ง เราจะรู้สึกหูอื้อ หรือปวดหู จึงมีการปรับความดันไปทางท่อยูสเตเชียน หูส่วนกลาง ทำหน้าที่ รับการสั่นสะเทือนจากเยื่อแก้วหู แล้วเพิ่มความถี่ของเคลื่อนเสียงเพื่อส่งต่อไปยังหูส่วนใน
http://www.hearingaidcentral.com/howtheearworks.asp
The Eustachian Tube http://www.slcent.com/eustachian.html
Middle ear bones หูส่วนกลาง ประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ หูส่วนกลาง ประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกค้อน (malleus) กระดูกทั่ง (incus) กระดูกค้อน (stapes) http://www.hearingaidcentral.com/howtheearworks.asp
Internal ear หูส่วนใน ประกอบด้วย โครงสร้างที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน 2 ชุด คือ ชุดที่ใช้ฟังเสียง ชุดที่ใช้ในการทรงตัว
ชุดที่ใช้ฟังเสียง อยู่ด้านหน้า เป็นท่อม้วนลักษณะคล้ายก้นหอย ประมาณ 2 รอบครึ่ง เรียกว่า cochlea ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านมา จะทำให้ของเหลวสั่นสะเทือน ทำหน้าที่ เปลี่ยนสัญญาณเสียงเป็นกระแสประสาท ไปยังประสาทรับเสียง (auditory nerve) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่แปรผลต่อไป
http://www.hearingaidcentral.com/howtheearworks.asp
ชุดที่ใช้ในการทรงตัว ทำหน้าที่ รับรู้เกี่ยวกับการเอียง และการหมุนของศีรษะ ตลอดจนการทรงตัวของร่างกาย มีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอดวางตั้งฉากกัน เรียกว่า semicircular canal ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ ที่โคนหลอดมีส่วนโป่งพองออกมา เรียกว่า ampulla ภายในมี เซลล์รับความรู้สึกที่มีขน (hair cell) ซึ่งไวต่อการไหลของของเหลวภายในหลอดที่เปลี่ยนแปลงตามของศีรษะและทิศทางการวางตัวของร่างกาย
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
จมูกกับการดมกลิ่น ภายในเยื่อบุจมูกมี เซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory neuron) ที่สามารถเปลี่ยนสารที่ทำให้เกิดกลิ่น เป็นกระแสประสาท ส่งต่อไป เส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ผ่าน olfactory bulb ส่งต่อไปยัง cerebrum แปรผลต่อไป
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
ลิ้นกับการรับรส ผิวลิ้นจะมีปุ่มเล็ก ๆ มากมาย ปุ่มเหล่านี้ คือ ปุ่มลิ้น (papilla) ที่ปุ่มลิ้นมี ตุ่มรับรส (taste bud) ทำหน้าที่ รับรส แต่ละตุ่มรับรสจะมี เซลล์รับรส (gustatory cell) ซึ่งต่อกับใยประสาท เมื่อตุ่มรับรสถูกกระตุ่นให้เกิดกระแสประสาท ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 ไปยัง cerebrum แปรผลต่อไป
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Taste bud มี 4 ชนิด คือ ตุ่มรับรสหวาน , ขม , เปรี้ยว , เค็ม http://bookworm.com.sg/e-book-preview/e-science-10-senses-pg05.htm
แผนที่ลิ้นลวงโลก http://update.se-ed.com/207/taste.htm
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก ผิวหนังแบ่ง เป็น 3 ชั้น ตามลำดับ คือ ชั้นหนังกำพร้า (epidermis layer) ชั้นหนังแท้ (dermis layer) ชั้นหนังไขมัน (hypodermis , subcutaneous layer )
Skin anatomy http://www.agen.ufl.edu/~chyn/age2062/lect/lect_19/lect_19.htm
http://faculty. southwest. tn. edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system.htm
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก ผิวหนังเป็นอวัยวะห่อหุ้มร่างกาย และ เป็นอวัยวะรับความรู้สึกต่าง ๆ เช่น หน่วยรับสัมผัส (Meissner’s corpuscles) หน่วยรับความกดดัน (Pacinian corpuscles) หน่วยรับความรู้สึกเจ็บปวด หน่วยรับความรู้สึกร้อน หน่วยรับความรู้สึกเย็น
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
http://faculty. southwest. tn. edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system.htm
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. http://faculty.southwest.tn.edu/rburkett/A&P1_Sense_organ_lab.htm
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao