งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส

2 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
1. ระบบประสาท แบ่งเป็น 2 ระบบย่อย คือ ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ประกอบด้วย สมอง , ไขสันหลัง ระบบประสาทรอบนอก (PNS) ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง 12 คู่ , เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ , ระบบประสาทอัตโนวัติ คือ พาราซิมพาทิติค , ซิมพาทิติค , อวัยวะรับสัมผัส , ระบบประสาทอัตโนมัติ

3

4 ระบบประสาท แบ่งเป็น 2 ระบบย่อย คือ
ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) ประกอบด้วย สมอง , ไขสันหลัง

5 ระบบประสาทรอบนอก (PNS) ประกอบด้วย
เส้นประสาทสมอง 12 คู่ , เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่ ,

6 ระบบประสาทอัตโนวัติ (ANS) พาราซิมพาทิติค ซิมพาทิติค

7 เซลล์ประสาท ประกอบด้วย
axon , dendrite , cellbody , myeline sheath , node of ranvier แบ่งเป็น ชนิด คือ เซลล์ประสาทขั้วเดียว เช่น เซลล์ประสาทที่ปมรากบนของเส้นประสาทไขสันหลัง เซลล์ประสาท 2 ขั้ว เช่น เซลล์ประสาทที่พบในอวัยวะรับสัมผัส เซลล์ประสาทหลายขั้ว เช่น เซลล์ประสาทที่พบทั่วไป

8

9

10 3. เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ ได้แก่
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เช่น เซลล์ประสาทที่อวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ เซลล์ประสาทนำคำสั่ง เช่น เซลล์ประสาทควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆ เซลล์ประสาทประสานงาน พบในไขสันหลัง สมอง

11 4. การทำงานของเซลล์ประสาท แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะพัก (ก่อนการส่งกระแสประสาท) ภายนอกเซลล์มีประจุเป็น + (Na+มากกว่า) ภายในเซลล์มีประจุเป็น – (K+มากกว่า) นอกเซลล์-ในเซลล์ มีความต่างศักย์ –60 มิลลิโวลต์ ระยะdepolarization (กำลังส่งกระแสประสาท) คุณสมบัติของ เมมเบรนเซลล์ประสาทเปลี่ยนไปโดยยอมให้ Na+ ผ่านเข้ามาในเซลล์ ทำให้ในเซลล์มีประจุเป็น + นอกเซลล์มีประจุเป็น – ระยะ repolarization (หลังกระแสประสาทผ่านไป) คุณสมบัติของเมมเบรนเซลล์ประสาทเปลี่ยนไปเหมือนเดิมโดยผลักให้ Na+ ออกไปจากเซลล์ และดึง K+ กลับเข้าสู่เซลล์ทำให้ในเซลล์มีประจุเป็น - นอกเซลล์มีประจุเป็น + เหมือนเดิม กระบวนการดังกล่าวมีการใช้พลังงาน เรียก sodium-potassium pump

12 การทำงานของเซลล์ประสาท
ระยะdepolarization (กำลังส่งกระแสประสาท) ระยะ repolarization (หลังกระแสประสาทผ่านไป) ระยะพัก (ก่อนการส่งกระแสประสาท) sodium-potassium pump

13 5. การส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาทระหว่างปลายdendrite กับ ปลาย axon ของเซลล์ถัดไปมี 2 แบบ คือ
ไซแนปส์ไฟฟ้า ในกรณีที่ช่องไซแนปส์แคบปลายประสาทอยู่ใกล้กันมาก ไซแนปส์เคมี ในกรณีที่ช่องไซแนปส์กว้างปลายประสาทอยู่ ไกลกัน มีการใช้ neurotransmitter เช่น acetyl choline , epinephrine , nor epinephrine , endophrine

14 สมอง BRAIN

15 6. สมองแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า , สมองส่วนกลาง , สมองส่วนท้าย
สมองส่วนหน้า แบ่งเป็น -cerebrum สมองส่วนใหญ่เกือบทั้งหมด เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ , การรับรู้ , ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อลาย -olfactory bulb ควบคุมการดมกลิ่นในปลา ในคน ไม่เจริญ -hypothalamus อยู่ติดกับต่อมใต้สมอง ทำหน้าที่ ควบคุมการสร้าง ฮอร์โมน , สร้างฮอร์โมนบางอย่าง , ควบคุมการเต้นของหัวใจ , อุณหภูมิ ,ความหิว , ความอิ่ม , ความรู้สึกทางเพศ -thalamus เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ส่งมาจากรอบนอกสู่สมองแล้วส่งสู่สมองส่วนต่างๆ

16 สมองส่วนกลาง เป็นสถานีถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองส่วนหน้ากับส่วนท้าย และ สมองส่วนหน้า กับนัยน์ตา
สมองส่วนท้าย -cerebellum ควบคุมการทรงตัวของร่างกาย , ประสานงานกล้ามเนื้อให้การเคลื่อนไหวสละสลวย ละเอียดอ่อน -medulla oblongata ควบคุมการทำงานของระบบประสาท อัตโนวัติ , ควบคุมการหายใจ , การไอ , จาม ,กระพริบตา -pons ควบคุมการเคลื่อนไหวของใบหน้า , การเคี้ยว , การกลืน , การหลั่งน้ำลาย

17

18

19 7. ไขสันหลัง ภายในประกอบด้วยเนื้อเยื่อประสาท แบ่งเป็น
-dorsal horn , dorsal root รับความรู้สึกเข้าไขสันหลัง(รับความรู้สึก) มีปมประสาทอยู่ด้วย -ventral horn , ventral root นำคำสั่งออกจากไขสันหลัง (นำคำสั่งสู่อวัยวะตอบสนอง)ไม่มีปมประสาท

20 ไขสันหลัง

21 8. การทำงานของระบบประสาท แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
8. การทำงานของระบบประสาท แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1. somatic nervous system เป็นระบบประสาทควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อภายในอำนาจจิตใจ เช่น การเคลื่อนไหวทั่วไป และ reflex action วงจรประสาทที่ควบคุม reflex action เรียก reflex arc (automatic nervous system) receptor sensory neuron association neuron effector motor neuron motor neuron

22 autonomic nervous system เป็นระบบประสาทควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ ภายนอกอำนาจจิตใต ประกอบด้วย 2 ระบบย่อย คือ sympathetic และ sympathetic ซึ่งทำงานตรงกันข้าม ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน

23

24

25 อวัยวะรับสัมผัส ประกอบด้วย ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง
ตา และการมองเห็น โครงสร้างของตา ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ sclera ตาขาว และ กระจกตา choroid ประกอบด้วย iris , pupil , len , กล้ามเนื้อยึดเลนส์ retina ประกอบด้วย - rod cell ไวแสงมาก รับภาพ ขาว-ดำ มีสาร rhodopsin(สังเคราะห์จาก vitamin A) เมื่อถูกแสงจะเปลี่ยนเป็น retinine+opsin เกิดการส่งกระแสประสาท -cone cell มี 3 ชนิด รับแสง สีแดง , เขียว , น้ำเงิน ทำงานได้ในที่มีแสงมาก รับภาพสี blind spot เป็นบริเวณที่ไม่มี เซลล์รับแสงอยู่ ถ้าแสงตกบริเวณนี้ไม่เกิดภาพ fovea เป็นบริเวณที่มี เซลล์รับแสงcone cellอยู่มาก ถ้าแสงตกบริเวณนี้จะเกิดภาพ ชัดเจน

26

27

28

29 หู และ การรับฟัง ประกอบด้วย 2 ส่วนสำคัญ คือ
อวัยวะเกี่ยวกับการได้ยิน ประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น รูป ค้อน , ทั่ง , โกลน , เยื่อแก้วหู , coclea (โครงสร้างรูปก้นหอย)ซึ่งภายในมีโครงสร้างรับสัมผัสเสียง คือ tectoerial membrane, organ of corti อวัยวะเกี่ยวกับการทรงตัว ประกอบด้วย semicircular canal ภายในมีโครงสร้างรับรู้การทรงตัว คือ stato receptor

30

31

32 จมูก และการดมกลิ่น ภายในโพรงจมูกมี olfactory cell รับกลิ่น อยู่ใน olfactory bulb
ลิ้นและการรับรส บริเวณผิวลิ้นมีปุ่ม papilla ซึ่ง มีตุ่มรับรส taste bud ซึ่งมีเซลล์รับรส แบ่งเป็น 4 บริเวณ คือ -รสหวาน อยู่ปลายลิ้น -รสเค็ม อยู่ปลายลิ้น ข้างลิ้น -รสเปรี้ยว อยู่ข้างลิ้น -รสขม อยู่โคนลิ้น

33

34

35 ลิ้นและการรับรส บริเวณผิวลิ้นมีปุ่ม papilla ซึ่ง มีตุ่มรับรส taste bud ซึ่งมีเซลล์รับรส แบ่งเป็น 4 บริเวณ คือ -รสหวาน อยู่ปลายลิ้น -รสเค็ม อยู่ปลายลิ้น ข้างลิ้น -รสเปรี้ยว อยู่ข้างลิ้น -รสขม อยู่โคนลิ้น

36

37

38 ผิวหนัง และการสัมผัส ประกอบด้วยปลายประสาทรับสัมผัส 6 อย่าง คือ
-ปลายประสาทรับสัมผัส อยู่ในชั้นหนังแท้ -ปลายประสาทรับความเจ็บปวด อยู่ในชั้นหนังกำพร้าระดับบนสุด -ปลายประสาทรับแรงกด อยู่ในชั้นหนังแท้ อยู่ลึกที่สุด -ปลายประสาทรับความเย็น อยู่ในชั้นหนังแท้ -ปลายประสาทรับความร้อน อยู่ในชั้นหนังแท้ -ปลายประสาทรอบโคนขน อยู่ในชั้นหนังแท้

39

40

41 จบแล้ว

42 ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)

43 หัวข้อบรรยาย ลักษณะของระบบควบคุมในร่างกาย กลไกการส่งสัญญาณด้วยสารเคมี
ระบบต่อมไร้ท่อของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ต่อมไพเนียล Hypothalamus และต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์

44 หัวข้อบรรยาย (ต่อ) ต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมไทมัส ต่อมหมวกไต ตับอ่อน
ต่อมบ่งเพศ

45 ลักษณะของระบบควบคุมในร่างกาย
ระบบควบคุม 2 ระบบที่ประสานงานกันเพื่อควบคุมกระบวนการต่างๆ ภายในร่างกายสัตว์ คือ ระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ สารที่นำข้อมูลสำหรับการควบคุมของระบบต่อมไร้ท่อ เป็นสารเคมีที่มีชื่อเรียกรวมๆ กันว่าฮอร์โมน (hormones) ฮอร์โมนสามารถนำข้อมูลไปยังอวัยวะหรือเซลล์เป้าหมายที่อยู่ไกลออกไปได้

46 ระบบต่อมไร้ท่อทำงานประสานกับระบบประสาท
เพื่อรักษาภาวะธำรงดุล ควบคุมกระบวนการพัฒนาของร่างกาย และการสืบพันธุ์ เซลล์บางกลุ่มของระบบประสาท ชื่อว่า neurosecretory cells มีหน้าที่ในการสร้างฮอร์โมน เช่น Norepinephrine ซึ่งใช้เป็นสัญญาณสำหรับการทำงานของทั้ง 2 ระบบ กระบวนการหลายอย่างในร่างกายเกิดจากการทำงานร่วมกันของทั้ง 2 ระบบ และส่วนใหญ่ควบคุมโดย กลไกแบบย้อนกลับ (feedback mechanisms)

47 พัฒนาการของแมลงเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการทำงานร่วมกันของระบบประสาทและฮอร์โมน

48 Steroid Hormone Action
Figure 9.1a Copyright © 2003 Pearson Education, Inc. publishing as Benjamin Cummings

49 Nonsteroid Hormone Action
Figure 9.1b Copyright © 2003 Pearson Education, Inc. publishing as Benjamin Cummings

50 Endocrine System Parts
Pineal Body Hypothalamus Pituitary Gland Thyroid Parathyroids Adrenal Glands Reproductive Glands

51 ต่อมไร้ท่อของมนุษย์

52 Pineal Gland or Epiphysis

53

54 3.2 ต่อมไพเนียล (Pineal Gland)
เป็นต่อมขนาดเล็ก อยู่ใกล้กับใจกลางของสมอง มีหน้าที่ผลิต ซีโรโตนิน(serotonin หรือ 5-HT)ซึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็นฮอร์โมนเมลาโตนิน (melatonin) แล้วขับออกสู่กระแสเลือด

55 Pineal Gland The pineal gland, or the pineal body is in the middle of the brain. It secretes melatonin, a hormone that regulates when you sleep at night and wake up in the morning.

56 ฮอร์โมนเมลาโตนิน หลั่งมากในเวลากลางคืน และหลั่งน้อยลงในเวลากลางวัน
มีบทบาทควบคุมพฤติกรรมทางเพศของสัตว์ให้ผสมพันธุ์ตามฤดูกาล มีผลต่อหน้าที่ต่างๆ ภายในร่างกายที่เกี่ยวข้องกับแสงและความยาวของเวลากลางวันกับกลางคืน (biological rhythm) ใช้ป้องกันอาการเหนื่อยล้าจากการเดินทางไกลๆโดยเครื่องบิน (jet lag) ได้

57 Hypothalamus

58 Hypothalamus In the lower central part of the brain
The main link between the endocrine and the nervous systems. Nerve cells in the hypothalamus control the pituitary gland by producing chemicals that either stimulate or suppress hormone secretions from the pituitary.

59 ฮอร์โมนจากไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหลัง

60 Hypothalamus และต่อมใต้สมอง
Neurosecretory cells ของไฮโปธาลามัสทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง (pituitary gland) ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland) เป็นที่เก็บฮอร์โมน 2 ชนิดจากไฮโปธาลามัส คือออกซีโตซิน (oxytocin) และ แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (antidiuretic hormone = ADH หรือ vasopressin)

61 HYPOTHALAMUS Hypothalamus Monitors H2O balance Temp CHO metabolism
Produces hormones/ monitors pituitary

62

63 Pituitary & all Hormones are Under the Control of the Hypothalamus
RF Hormone Anterior Pituitary Posterior Pituitary Hormone SH Target Organs Target Organs RF = Releasing Factor SH = Stimulating Hormone

64 Hypothalamic Hormones:
Gondotropin RF Corticotropin RF (CRF) Thyrotropin RF Growth Hor RF Prolactin RF Pituitary Hormones: Growth Hormone Prolactin Adrenocorticoptropin Hormone (ACTH) Thyrotropin SH Follicle SH & Lutenizing Hor. Target Gland or Structure: Bones, breasts & cells of body Cells of body Ovaries & Testes (androgens, estrogen) Adrenal Gland (cortisol) Thyroid Gland (thyroxine)

65 Pituitary Gland or Hypophysis

66 Pituitary Gland The MASTER Gland The gland is no bigger than a pea.
Located at the base of the brain, and the most important part of the entire endocrine system. AKA: The master gland because it makes hormones that control other endocrine glands. The production of hormones and secretions can be affected by emotions and seasons change. Divided into two parts. The MASTER Gland

67

68

69 The Division The tiny pituitary has two parts: the anterior and the posterior lobe. The anterior regulates the thyroid, adrenals, and the reproductive’s activities. It makes hormones like growth hormones, prolactin (breastfeeding), thyrotropin, and corticotropin. The posterior releases antiduretic hormones, which balances the body’s water level. It also makes oxytocin, which activates the contractions of the uterus in a woman in labor. The pituitary also secretes endorphins, chemicals that act on the nervous sytem and reduce painful feelings. It also gets rid of hormones that signal the reproductive organs to make sex hormones. It also controls ovulation and the menstrual cycle.

70 Anterior Pituitary Gland

71 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(anterior pituitary) มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะดีโนไฮโปไฟซิส (adenohypophysis) สร้างฮอร์โมนได้มากชนิดที่สุด

72 ANTERIOR PITUITARY 6 hormones Releasing hormones Inhibiting hormones
ACTH TSH FSH LH PRL GH Releasing hormones Inhibiting hormones Pituitary portal system

73 Hormones of the Anterior Pituitary
Figure 9.4 Copyright © 2003 Pearson Education, Inc. publishing as Benjamin Cummings

74 ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า

75 AP Hormones ACTH (adrenocorticotropic hormone)
Stimulates adrenal cortex  glucocorticoids Regulation: ACTH-RH TSH (thyroid stimulating hormone) Stimulates thyroid gland Regulation: TSH-RH FSH (follicle stimulating hormone) In females Egg development, estrogen In males Sperm development

76 AP Hormones, continued LH (luteinizing hormone) Prolactin (PRL) GH
In females Ovulation, progesterone In males (ICSH) Testerone production Prolactin (PRL) Mammary gland development, milk production GH Stimulates protein synthesis, cell division Adolescent growth

77 Pituitary disorders Gigantism Acromegaly
Hypersecretion of GH during childhood Acromegaly Hypersecretion after adulthood Pituitary tumor

78 Pituitary Disorders Pituitary dwarfism
Hyposecretion of GH during childhood

79 Posterior Pituitary Gland

80 Hormones of the Posterior Pituitary
Figure 9.5 Copyright © 2003 Pearson Education, Inc. publishing as Benjamin Cummings

81 HYPOTHALAMUS – POSTERIOR PITUITARY
Neuroendocrine cells - Nerve & endocrine fxn. - Connects with posterior pituitary - Neurons make: 1. ADH 2. Oxytocin - Released from Post. Pit.

82 แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน ADH
ช่วยรักษาสมดุลน้ำในร่างกายโดยทำให้เกิดการดูดน้ำกลับเข้าสู่เส้นเลือดบริเวณหลอดไต ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะทำให้เกิดโรคเบาจืด (Diabetes insipidus)

83 ออกซีโตซิน oxytocin มีผลต่อการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบ เช่นการบีบตัวของมดลูกขณะคลอด หลังร่วมเพศ ฮอร์โมนนี้ทำให้มดลูกบีบตัวเพื่อนำสเปอร์มเข้าไปปฏิสนธิกับไข่ ขณะที่ทารกดูดนมมารดา ฮอร์โมนนี้กระตุ้นการหลั่งน้ำนม

84 Control of oxytocin secretion
Neuroendocrine reflex Sensory receptors in nipple stimulated Hypothalamus stimulation NE cells  oxytocin Milk ejected

85 Thyroid Gland

86 THYROID

87 ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland)
มี 2 พู ติดกัน อยู่ทางด้านหน้าของท่อลม หน้าที่: ผลิตฮอร์โมน triiodothyronine (T3) และ thyroxine (T4) และมีเซลล์อีกกลุ่มหนึ่งพัฒนามาจากเซลล์ประสาท ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนแคลซิโตนิน (calcitonin)

88 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์

89 การหลั่งฮอร์โมน T3 และ T4 ถูกควบคุมโดยสมองส่วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมอง โดยใช้กลไกการควบคุมแบบย้อนกลับ (feedback control)

90 ฮอร์โมน triiodthyronine (T3) และ thyroxine (T4)
มีฤทธิ์เพิ่มอัตราการใช้ออกซิเจนและกระตุ้นเมตะบอลิซึมของเซลล์ในร่างกาย จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายให้เป็นไปอย่างปรกติ เด็กที่ขาดฮอร์โมนนี้จะตัวเตี้ย กระดูกเจริญช้า ฟันขึ้นช้า ผู้ใหญ่ที่ขาดฮอร์โมนนี้จะน้ำหนักเพิ่มขึ้น เฉื่อยชา และ ไม่ทนต่อความหนาว

91 ฮอร์โมนแคลซิโตนิน สร้างโดย Parafollicular Cells ของต่อมไทรอยด์
หน้าที่: ลดระดับแคลเซียมในเลือด โดยการเร่งให้ Ca2+ เข้าไปสะสมในกระดูกมากขึ้น และลดการดูดแคลเซียมกลับที่ท่อของหน่วยไต ให้ผลต่อร่างกายในทิศทางที่ตรงข้ามกับ parathyroid hormone (PTH)

92 Thyroxine Secretion

93 What in the world? What organ? Role of iodine in thyroid metabolism
Deficiency of I- or too much of a good thing?

94 Graves’ Disease Autoimmune dz., thyroid
Hypersecretion of thyroid hormone Exophthalmos

95 Parathyroid Gland

96 PARATHYROID GLAND Location PTH: incrise Ca Bone GI tract Kidney

97 ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Glands)
มี 4 ต่อม อยู่ด้านหลังของต่อมไทรอยด์ ทำหน้าที่ผลิต parathyroid hormone (PTH, parathormone) ซึ่งมีฤทธิ์ในการเพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด PTH มีฤทธิ์เร่งการสลายกระดูก (ปล่อยแคลเซียมออกสู่กระแสเลือด) และเร่งการดูดซึมแคลเซียมโดยท่อของหน่วยไตและลำไส้

98 การรักษาสมดุลของแคลเซียมโดยฮอร์โมน

99 Ca Regulation, cont.

100 Thymus Gland

101 ต่อมไทมัส (thymus) สร้างฮอร์โมนไทโมซิน (thymosin) ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการเจริญและพัฒนาการของ T lymphocytes หลังจากที่ออกจากต่อมไทมัสไปแล้ว

102 Pancreas Islet of langerhanns

103

104 ตับอ่อน (Pancreas) ประกอบด้วยส่วนที่เป็นต่อมมีท่อซึ่งทำหน้าที่หลั่งเอนไซม์ย่อยอาหาร และส่วนที่เป็นต่อมไร้ท่อชื่อว่า islets of Langerhans ซึ่งมีเพียง 2% ของน้ำหนักตับอ่อน แต่ละ islet มีเซลล์ 2 ชนิดคือ alpha cells ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนกลูคากอน (glucagon) และ beta cells ซึ่งทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (insulin)

105 PANCREAS Endocrine and exocrine gland Endocrine fxn.
Glucagon: causes breakdown of glycogen to glucose – raises glucose in blood Insulin: promotes entry of glucose into cells – lowers glucose in blood

106 ฮอร์โมนอินซูลิน หน้าที่: ลดระดับกลูโคสในเลือด โดยการกระตุ้นการนำกลูโคสจากกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ของร่างกาย เพื่อใช้เป็นพลังงานหรือเปลี่ยนเป็นสารอาหารรูปอื่น อวัยวะสำคัญที่อินซูลินไปออกฤทธิ์ ได้แก่ ตับ กล้ามเนื้อ และเซลล์ไขมัน การขาดอินซูลินทำให้เกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Type II diabetes mellitus)

107 ฮอร์โมนกลูคากอน ทำงานร่วมกับฮอร์โมนอินซูลินในการรักษาระดับกลูโคสในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ โดยการสลายไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสและปล่อยออกสู่กระแสเลือด (มีฤทธิ์ตรงข้ามกับอินซูลิน)

108 การรักษาระดับน้ำตาลในเลือด

109 Diabetes Mellitus Type I Type II Autoimmune Low insulin
Patients require insulin Type II Normal or high insulin levels Cell receptors not sensitive to insulin

110 Adrenal Gland

111 ADRENAL GLANDS

112 ADRENAL GLANDS Location Top of kidneys Abdominal cavity Cortex Medulla

113 ต่อมหมวกไต (Adrenal Glands)
อยู่เหนือไตแต่ละข้าง มีทั้งหมด 2 ต่อม ประกอบด้วยส่วนใน (adrenal medulla) และ ส่วนนอก (adrenal cortex)

114 Adrenal Cortex

115 ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex)
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 3 กลุ่ม คือ Mineralocorticoid (Aldosterone): ออกฤทธิ์ในการรักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่บางชนิด Glucocorticoid (Cortisol): ควบคุมเมตะบอลิซึมของสารอาหารในร่างกาย และทำให้ร่างกายทนต่อภาวะเครียดได้ Sex hormone: มีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับ sex hormone ที่สร้างในต่อมบ่งเพศ หน้าที่ยังไม่ทราบแน่ชัด

116 Adrenal Cortex Mineralocorticoids – Aldosterone
Sodium / Potassium metabolism Increased sodium reabsorption by kidney Increased potassium excretion by kidney Water balance: water follows sodium

117 Adrenal Cortex Glucocorticoids – primarily cortisol
Stimulated by ACTH from anterior pituitary Helps maintain blood glucose levels Stress raises cortisol levels Reduces inflammation: anti-inflammatory

118 Cortisol Regulation

119 Adrenal Medulla

120 Adrenal Medulla Part of the sympathetic nervous system: fight or flight response Secretes 2 products Epinephrine (adrenalin) Norepinephrine Raises blood glucose Increases heart rate and force of contraction Increases respiration rate

121 ต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla)
ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนกลุ่มที่ชื่อว่า Catecholamines ซึ่งได้แก่ epinephrine (adrenaline) และ norepinephrine (noradrenaline) Catecholamines จะถูกหลั่งออกมาเมื่อร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น ดีใจสุดๆ หรือตกใจกลัว มีผลทำให้ร่างกายตื่นตัว มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งอินซูลินและกระตุ้นการหลั่งกลูคากอน

122 การสังเคราะห์ฮอร์โมนกลุ่ม Catecholamine
ใช้กรดอะมิโน ชื่อ ไทโรซีน (tyrosine) เป็นสารตั้งต้น คำถาม: Epinephrine ต่างจาก Norepinephrine อย่างไร?

123 Reproductive Gland

124 Reproductive Glands!!! The gonads are the main source of
sex hormones. Even though you may think that gonads are just in guys, you’re wrong! Girls have them too…

125 ต่อมบ่งเพศ (Gonads) สร้างฮอร์โมน 3 กลุ่ม คือ
Androgens (เช่น testosterone) ทำให้เกิดลักษณะเพศชาย Estrogens (เช่น estradiol) ทำให้เกิดลักษณะเพศหญิง Progestin (เช่น progesterone) ทำให้มดลูกเตรียมพร้อมสำหรับพัฒนาการของตัวอ่อน ทั้ง 3 ชนิดพบทั้งในเพศหญิงและชาย (ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน)

126 Gonads & Hormones LH & FSH

127 Sex Hormones: Testes/Ovaries
Testes  testosterone Sperm development Dev of male reproductive organs Secondary sex characteristics Ovaries  estrogen and progesterone Estrogen Female sex characteristics Menstrual cycle Progesterone

128 Male Gonads In guys the male gonads, or testes are located in the scrotum. They secrete hormones called androgens, the most important of which is testosterone. These hormones tell a guy's body when it's time to make the changes associated with puberty, like penis and height growth, deepening voice, and growth in facial and pubic hair. Working with hormones from the pituitary gland, testosterone also tells a guy's body when it's time to produce sperm in the testes.

129 Female Gonads The ovaries are located in her pelvis. They produce eggs and secrete the female hormones estrogen and progesterone. Estrogen is involved when a girl begins to go through puberty. During puberty, a girl will experience breast growth, will begin to accumulate body fat around the hips and thighs, and will have a growth spurt. Estrogen and progesterone are also involved in the regulation of a girl's menstrual cycle. These hormones also play a role in pregnancy.

130

131

132 พฤติกรรม Behavior พฤติกรรม หมายถึง การตอบสนองต่อสิ่งเร้า(ภายนอก หรือภายใน) ที่มากระตุ้นปัจจัยที่ทำให้เกิดพฤติกรรม คือ สิ่งเร้า ระบบประสาท หน่วยรับความรู้สึก หน่วยปฏิบัติงาน กลไกการเกิดพฤติกรรม สิ่งเร้าภายใน (ฮอร์โมน) สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก ระบบประสาท พฤติกรรม สิ่งเร้าภายนอก (แสง อุณหภูมิ)

133 ประเภทของพฤติกรรมแบ่งเป็น 2 แบบ คือ
พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด innate behavior , inherited behavior ลักษณะการเกิดพฤติกรรม เป็นพฤติกรรมที่ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ ฝึกฝนมาก่อน มีแบบแผนที่แน่นอน Kinesis การเคลื่อนเข้าหา หรือ หนี สิ่งเร้าโดยไม่มีทิศทาง Taxis การเคลื่อนเข้าหา หรือ หนี สิ่งเร้าโดยมีทิศทาง Reflex การตอบสนองแบบทันทีทันใด chain of reflex เป็นรีเฟล็กซ์ที่มีรูปแบบเฉพาะในแต่ละ สปีชีส์ (ดูดนม สร้างรัง ฟักไข่ ฯลฯ)

134 พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ learned behavior ,
acquired behavior ลักษณะการเกิดพฤติกรรม เป็นพฤติกรรมที่ต้องเรียนรู้สามารถปรับปรุงได้ Habituation (ความเคยชิน) ต้องมี 2 พฤติกรรมกับ 1 สิ่งเร้า Conditioning (การวางเงื่อนไข) ต้องมี 2 สิ่งเร้า แต่แสดง พฤติกรรมแบบเดียวกัน trail and error (ลองผิด ลองถูก) ต้องมีหลายพฤติกรรม ต่อ 1 เร้า แล้วเลือกพฤติกรรมที่เหมาะสม imprinting (ฝังใจ) เป็นพฤติกรรมที่เกิดในช่วงแรกๆ reasoning (การใช้เหตุล) คิดก่อนทำ

135 ตารางแสดงพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด innate behavior , inherited behavior
ชนิดพฤติกรรม รูปแบบพฤติกรรม ตัวอย่าง Kinesis -การเคลื่อนเข้าหา หรือ หนี สิ่งเร้าโดยไม่มีทิศทาง การเคลื่อนที่ของ พารามีเซียม Taxis -การเคลื่อนเข้าหา หรือ หนี สิ่งเร้าโดยมีทิศทาง การเคลื่อนที่หนีแสงของ ไส้เดือนดิน การบินเล่นไฟ ของแมลง Reflex -การตอบสนองสิ่งเร้าแบบ ทันที กระพริบตา หรี่ม่านตา กระตุกขา เมื่อเคาะหัวเข่า chain of reflex -การตอบสนองอย่างมีแบบ แผน ถ่ายทอดผ่านยีนส์ การดูดนมทารก การชักใย ของแมงมุม การสร้างรังของนก การฟักไข่

136 ตารางแสดงพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ learned behavior , acquired behavior
ชนิดพฤติกรรม รูปแบบพฤติกรรม ตัวอย่าง Habituation -การตอบสนองสิ่งเร้าใน ระยะแรก และลดพฤติกรรมลง ในช่วงหลัง -การหลบภัยใยระยะแรก -การได้ยินเสียงในเวลานอน Conditioning การตอบสนองสิ่งเร้า 2 สิ่ง -สิ่งเร้าจริง -สิ่งเร้าเทียม -สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยิน เสียงกระดิ่ง -การหดตัวเมื่อได้รับแสงหลัง กระตุ้นด้วยไฟฟ้า trail and error -การแสดงพฤติกรรมหลายๆ แบบกับสิ่งเร้าเดียวกัน -การพยายามเข้าไปกินอาหาร ของสุนัขที่ผูกไว้ Imprinting -การตอบสนองสิ่งเร้าแรกที่ เห็น โดยมีกรรมพันธุ์เป็น ตัวกำหนด -ลูกเป็ดเดินตามแม่ไก่ -ลูกนกเดินตามคนเลี้ยง reasoning -การแสดงที่ผ่านการใช้ สติปัญญา -พฤติกรรมต่างๆของคน -ลิงต่อลังเพื่อขึ้นไปกินอาหาร

137 ตารางแสดงระดับพฤติกรรมของสัตว์
โพรโทซัว แมลง นก Mammal ชั้นต่ำ มนุษย์ Reasoning - น้อยมาก มีน้อย มีมาก learned behavior ปานกลาง มากขึ้น chain of reflex มีพอสมควร Reflex น้อย Taxis ไม่มี Kinesis

138 สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทกับพฤติกรรม คือ สัตว์ที่มีระบบประสาทพัฒนาดีแล้วจะมีพฤติกรรมการเรียนรู้และการใช้เหตุผลมาก ส่วนสัตว์ที่ไม่มีระบบประสาทหรือระบบประสาทยังไม่พัฒนาจะมีพฤติกรรมที่เป็น รีเฟลกซ์ รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง แทกซิส หรือ ไคนีซิส พฤติกรรมทางสังคม social behavior หมายถึง พฤติกรรมที่ใช้สื่อสารติดต่อซึ่งกันและกันในกลุ่มสังคมของตน

139 ความสำคัญของการแสดงพฤติกรรมของสัตว์ คือ
1. ปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ 2. ช่วยในการหาอาหาร 3. ป้องกันอันตราย 4. การดำรงเผ่าพันธุ์ ฯลฯ

140 ขอบคุณ THANK YOU


ดาวน์โหลด ppt ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google