การขออนุญาตเกี่ยวกับ เครื่องสำอาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
Advertisements

แนวทางการบริหารงบประมาณ
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซิน พ. ศ
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ภญ.จีรัง ภมรสูต สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
BLSC, Department of Livestock Development
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ขั้นตอน วิธีการ ดำเนินการ การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ภายใต้ MOU นำเข้า MOU 4 Nov 16.
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา
การรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและคุ้มครองผู้บริโภค
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขออนุญาตเกี่ยวกับ เครื่องสำอาง การขออนุญาตเกี่ยวกับ เครื่องสำอาง

การขออนุญาตเกี่ยวกับเครื่องสำอาง ข้อควรรู้เกี่ยวกับเครื่องสำอาง การขอหนังสือรับรองและขอให้รับรอง สำเนาหนังสือรับรอง GMP การขอความเห็นเกี่ยวกับการใช้ฉลากเครื่องสำอาง การขอใบจดแจ้งการผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอาง การขอความเห็นเกี่ยวกับ ข้อความสำหรับโฆษณา เครื่องสำอาง การขอหนังสือรับรองเกี่ยวกับเครื่องสำอาง

ข้อควรรู้เกี่ยวกับเครื่องสำอาง ตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 “เครื่องสำอาง” หมายความว่า วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทำด้วยวิธีอื่นใด ต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายมนุษย์รวมถึงการใช้กับฟันและเยื่อบุในช่องปาก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏ หรือระงับกลิ่นกายหรือปกป้องดูแลส่วนต่างๆ นั้น ให้อยู่ในสภาพดี รวมทั้งเครื่องประทิ่นต่างๆ สำหรับผิวด้วย แต่ไม่รวมถึง เครื่องประดับและเครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภายนอกร่างกายวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอางโดยเฉพาะหรือวัตถุที่กำหนดโดยกฎกระทรวงให้เป็นเครื่องสำอาง กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เข้าข่ายเป็นเครื่องสำอาง ครีมทาหน้า โลชั่นทาผิวกาย สบู่ แชมพู ครีมนวดผม ยาสีฟัน น้ำยาบ้วนปาก ผลิตภัณฑ์ฟอกสีฟัน ลิปสติก บลัชออน อายแชโดว์ อายไลน์เนอร์ สีทาเล็บ แป้งทาหน้า แป้งฝุ่นโรยตัว ผ้าเย็น/กระดาษเย็น ผ้าอนามัย ผลิตภัณฑ์ย้อมผม ผลิตภัณฑ์ดัดผม ผลิตภัณฑ์กำจัดขน ผลิตภัณฑ์ฟอกสีผม ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกายและน้ำหอม กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ

การขอใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง ผู้ประกอบการดังต่อไปนี้ ต้องขอใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง ผู้ผลิต ผู้รับจ้างผลิต ผู้นำเข้า ขั้นตอนการขอใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง ยื่นขอประทับตรารับรองหนังสือมอบอำนาจและยื่นขอรหัสผู้ประกอบการ (กรณีเป็นผู้ประกอบการรายใหม่หรือมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเดิมเท่านั้น) ยื่นคำขอแจ้งรายละเอียดผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางโดยใช้แบบแจ้งรายละเอียดการผลิตเพื่อขายหรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม (แบบจ.ค.) ค่าธรรมเนียมใบรับจดแจ้งการผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอาง 5,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

การขอรับใบอนุญาตที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ นอกจากผู้ประกอบการผลิตเครื่องสำอาง ต้องขอใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง ต้องยื่นคำขอรับใบอนุญาตประกอบ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพด้วย ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ยื่นแบบคำขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ( อภ.1) สถานที่ยื่นคำขอ กรุงเทพมหานคร ยื่นขอ ณ สำนักงานเขตที่ตั้งสถานประกอบการ ต่างจังหวัด ยื่นขอ ณ สำนักงานเทศบาล หรือ สำนักงานสุขาภิบาล หรือองค์การบริหารส่วน ตำบล ซึ่งดูแลเขตพื้นที่ที่ตั้งสถานประกอบการ อัตราค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่ข้อกำหนดของแต่ละท้องที่แต่ไม่เกิน 10,000 บาท คิดตามประเภทและขนาดของกิจการ กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

การขออนุญาตอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการขอใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง การขอจดแจ้งรายละเอียดการผลิตเพื่อขายหรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา การขอบัญชีผู้ใช้งานระบบจดแจ้งเครื่องสำอางผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (USER ACCOUNT) การแจ้งเปลี่ยนแปลงชื่อหรือที่ตั้งสถานที่ผลิต สถานที่นำเข้า หรือสถานที่เก็บเครื่องสำอาง การยื่นคำขอนำเครื่องสำอางเข้ามาในราชอาณาจักรแบบเฉพาะครั้ง กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ

การขอหนังสือรับรองเกี่ยวกับเครื่องสำอาง ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะส่งออกเครื่องสำอางไปจำหน่ายยังต่างประเทศ อาจต้องใช้หนังสือรับรองเกี่ยวกับเครื่องสำอางที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาออกให้ดังนี้ หนังสือรับรองแหล่งผลิตเครื่องสำอาง คือ หนังสือรับรองว่าเครื่องสำอางที่ขอให้รับรองมีแหล่งกำเนิดในประเทศไทยและผลิตโดยผู้ผลิตที่ระบุในหนังสือรับรอง หนังสือรับรองผู้ผลิตเครื่องสำอาง คือ หนังสือที่รับรองว่าผู้ผลิตเครื่องสำอางมีที่ตั้งอยู่ตามที่ระบุในหนังสือรับรอง หนังสือรับรองการขายเครื่องสำอาง คือ หนังสือรับรองว่าเครื่องสำอางที่ขอให้รับรองได้ผลิตในประเทศไทยและสามารถจำหน่ายได้ในประเทศไทย หนังสือรับรอง BSE คือ หนังสือรับรองว่าเครื่องสำอางที่ขอให้รับรองไม่มีวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางที่อาจมีการปนเปื้อนเชื้อ BSE (เชื้อโรควัวบ้า) กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

ผู้ประกอบการสามารถขอหนังสือรับรองดังกล่าวได้ โดยยื่นแบบคำขอหนังสือรับรอง (แบบ F-C2-4) ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ศูนย์บริการผลิตภัณฑ์สุขภาพเบ็ดเสร็จ (One Stop Service Center: OSSC) ค่าธรรมเนียมหนังสือรับรองฉบับละ 1,000 บาท เมื่อผู้ประกอบการได้รับหนังสือรับรองดังกล่าวแล้ว อาจขอให้ประทับตรารับรองหนังสือรับรอง เพื่อนำไปใช้ประกอบการส่งออกตามที่ประเทศคู่ค้ากำหนดได้ กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ

การขอหนังสือรับรอง GMP กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

การขอให้รับรองสำเนาหนังสือรับรอง GMP เมื่อผู้ประกอบการได้รับหนังสือรับรอง GMP แล้ว หากประสงค์จะส่งออกผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไปจำหน่ายยังต่างประเทศ สามารถยื่นคำขอให้รับรองสำเนาหนังสือรับรอง GMP เพื่อนำไปใช้ประกอบการส่งออกตามที่ประเทศคู่ค้ากำหนดได้ กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ

หลักเกณฑ์การขอความเห็นเกี่ยวกับการใช้ฉลากเครื่องสำอาง ผู้ประกอบการผลิต นำเข้า และผู้รับจ้างผลิตจะต้องจัดให้มีฉลากเครื่องสำอาง โดยฉลากเครื่องสำอางจะต้องมีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนดไว้ เช่น ต้องใช้ข้อความที่ตรงต่อความจริง ไม่ใช้ข้อความที่ขัดต่อศีลธรรม หรือ วัฒนธรรมอันดีงามของไทย ไม่มีข้อความที่อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิด ในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

กำหนดอัตราโทษหากไม่จัดให้มีฉลากเครื่องสำอาง พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 มาตรา 67 กำหนดว่า ผู้ผลิต ผู้นำเข้า หรือผู้รับจ้างผลิตเครื่องสำอางที่ไม่จัดให้มีฉลาก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ นอกจากนี้หากจัดให้มีฉลากเครื่องสำอางแล้ว แต่ฉลากนั้นไม่เป็นไปตามลักษณะที่กฎหมายกำหนดก็มีโทษจำคุก หรือปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับเช่นกัน แต่อัตราโทษจะแตกต่างกันไป ผู้ประกอบการที่สงสัยว่าฉลากของตนเป็นการฝ่าฝืนต่อหลักเกณฑ์ตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ อาจขอให้คณะกรรมการเครื่องสำอางให้ความเห็นเกี่ยวกับฉลากเครื่องสำอางที่ประสงค์จะใช้ โดยยื่นคำขอความเห็นในการใช้ฉลากเครื่องสำอาง (แบบ ฉส.1) ค่าธรรมเนียม ในการขอความเห็นรายการละ 10,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ

การขอความเห็นเกี่ยวกับการโฆษณาเครื่องสำอาง กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ต้องขออนุญาตก่อน แต่การโฆษณาจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด คือ ต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค หรือใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมส่วนรวม กลับสู่หน้าหลัก หน้าถัดไป

กำหนดอัตราโทษหากโฆษณาโดยไม่เป็นไปตามกฎหมาย พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 มาตรา 84 กำหนดว่า ผู้ใดโฆษณาโดยไม่เป็นไปตามมาตรา 41 หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 42 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ประกอบการรายใดสงสัยว่าผลิตภัณฑ์ของตน สามารถโฆษณาได้หรือไม่และการโฆษณาของตนนั้น ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ อาจขอให้คณะกรรมการเครื่องสำอางให้ความเห็นในเรื่องนั้นก่อนโดยยื่นคำขอความเห็นเกี่ยวกับข้อความสำหรับการโฆษณาเครื่องสำอาง (แบบ ฆส.1) ค่าธรรมเนียมในการขอความเห็นเรื่องละ 10,000 บาท กลับสู่หน้าหลัก ย้อนกลับ