การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร Cost-Volume-Profit Analysis (CVP Analysis)
กำหนด แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ และ พันธกิจ การนำแผน กลยุทธ์ ไปปฏิบัติใช้ ปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลง ทบทวน หรือแก้ไขถ้าจำเป็น ดำเนินการซ้ำ ถ้าจำเป็น การตรวจสอบ ประเมินผล และทำการแก้ไข ผลการปฏิบัติงานจริง -งบประมาณยืดหยุ่น -การวิเคราะห์ผลต่าง ต้นทุนมาตรฐาน -รายงานจำแนกตามส่วนงาน -การวิเคราะห์ความสามารถ ในการทำกำไร การวางปฏิบัติการ (แผนงานตามหน้าที่ ) การวางแผนงานบัญชีบริหาร การออกแบบระบบต้นทุน การวิเคราะห์ต้นทุนปริมาณกำไร แผนงบประมาณ
แนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร สามารถตอบคำถามทางบริหารด้วยกันหลายคำถาม ดังนี้ ยอดขายหรือปริมาณขายเท่าไรที่ขายแล้วจะทำให้คุ้มทุน ยอดขายหรือปริมาณขายเท่าไรที่จะทำให้ได้กำไรตามที่ต้องการ กำไรจะเป็นเท่าไร หากสามารถขายในปริมาณที่คาดว่าจะขายได้ หากมีการเปลี่ยนแปลงในราคาขาย ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ หรือปริมาณขายจะส่งผลกระทบต่อกำไรอย่างไร การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดจากหลายทางเลือก
สรุปความสัมพันธ์ของราคาขาย ต้นทุนผันแปร กำไรส่วนเกินได้ดังต่อไปนี้
จากการคำนวณก่อนหน้านี้
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน คือ จุดที่รายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมพอดี ไม่มีผลกำไรหรือขาดทุน วิธีกราฟ วิธีสมการ วิธีกำไรส่วนเกิน 3.1 กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 3.2 อัตรากำไรส่วนเกิน
วิธีสมการ TS - TVC – TFC = NI TS TVC + TFC + NI โดยที่ต้นทุนทั้งหมด คำนวณได้จากต้นทุนผันแปรบวกกับต้นทุนคงที่ ดังนั้น TC
จากตัวอย่างการผลิตไวน์ สมการจุดคุ้มทุน
เรายังไม่ทราบว่าผลิตไวน์กี่ขวดจึงคุ้มทุน ใส่ x ไว้ก่อน ค่าใช้จ่ายผันแปรผันแปรตามหน่วยที่ผลิต ซึ่งเรารู้ว่าหนึ่งขวดมีค่าใช้จ่ายผันแปรเท่ากับ 94 บาท
ย้ายตัวแปร x ไปไว้ข้างเดียวกัน จะได้สามารถบวก-ลบกันได้
ค่า x ที่คำนวณได้ คือ จำนวนที่ผลิตแล้วขายออกหมด จะทำให้กิจการคุ้มทุน
จากตัวอย่างการผลิตไวน์
จากตัวอย่างการผลิตไวน์ ต้นทุนคงที่รวมที่ใช้ในการผลิตไวน์ จากที่เคยคำนวณมาแล้ว
จากตัวอย่างการผลิตไวน์
วิธีอัตรากำไรส่วนเกิน B.E. = TFC CMR
จากตัวอย่างการผลิตไวน์
จากตัวอย่างการผลิตไวน์
จากตัวอย่างการผลิตไวน์
วิธีส่วนเกินปลอดภัย อัตรากำไรส่วนเกินปลอดภัย = (ยอดขายปกติ – ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน) x 100 ยอดขายปกติ จากตัวอย่างการผลิตไวน์ ยอดขายตามงบกำไรขาดทุน
จุดคุ้มทุนเงินสด จุดคุ้มทุนเงินสด < จุดคุ้มทุนปกติ 1. วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย จุดคุ้มทุนเงินสด = (ต้นทุนคงที่รวม – ค่าเสื่อมราคา) กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 2. วิธีอัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย จุดคุ้มทุนเงินสด = ต้นทุนคงที่รวม – ค่าเสื่อมราคา) อัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย 3. วิธีสมการ ต้นทุนรวม = ต้นทุนผันแปรรวม + (ต้นทุนคงที่รวม – ค่าเสื่อมราคา) จุดคุ้มทุนเงินสด < จุดคุ้มทุนปกติ
วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย ค่าเสื่อมราคาประจำงวดที่คำนวณ
วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีอัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีอัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย อัตราที่คำนวณเป็นเปอร์เซ็นต์ของกำไรสุทธิ
วิธีอัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีสมการ
วิธีสมการ ย้ายข้างแก้สมการ
วิธีสมการ
กำไรตามเป้าหมาย 1. วิธีสมการ ต้นทุนรวม = ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่ + กำไรสุทธิ 2. วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย กำไรตามเป้าหมาย = ต้นทุนคงที่รวม + กำไรสุทธิ กำไรส่วนเกินต่อหน่วย 3. วิธีอันตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย อัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีสมการ เป็นกำไรที่คาดว่าจะได้ในอนาคต
วิธีสมการ ย้ายข้างแก้สมการ
วิธีสมการ
วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีอัตรากำไรส่วนเกินต่อหน่วย
กำไรหลังหักภาษีตามเป้าหมาย หากต้องการกำไรเท่ากับ 14,000,000 บาท โดยที่อัตราภาษีเท่ากับ 30% ของกำไรจากการดำเนินงาน ดังนั้นกำไรก่อนหักภาษีต้องเท่ากับ
วิธีสมการ
วิธีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย
วิธีอัตรากำไรส่วนเกิน
การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร เพื่อการตัดสินใจ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงราคาขาย การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงต้นทุน การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงปริมาณการขาย การวิเคราะห์เลือกวิธีส่งเสริมการขาย
การวิเคราะห์กรณีหลากหลายสายผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนรวมทั้งบริษัท การวิเคราะห์กำไรจากการดำเนินงานตามเป้าหมาย การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนกรณีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนรวมทั้งบริษัท
การวิเคราะห์กำไรจากการดำเนินงานตามเป้าหมาย
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนกรณีกำไรส่วนเกินต่อหน่วย