ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy โดย ผอ.หนุ่ม ครับ
ทางสายกลาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขความรู้ (รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) นำสู่ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม นำสู่ สมดุล มั่นคง และยั่งยืน
คำนิยามเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบ ใด ๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและ ภายใน
คุณลักษณะของปรัชญเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
สรุป 3 ห่วง TIP 1)ความพอประมาณ : อย่าทำอะไรเกินตัว 1)ความพอประมาณ : อย่าทำอะไรเกินตัว 2)ความมีเหตุผล : “คิด” ก่อนทำ 3)ความมีภูมิคุ้มกัน : วางแผนสำรองไว้หาก “ล้ม”แล้ว “ลุก”ได้ (ตรงกับการควบคุมภายใน)
เงื่อนไข 2 เงื่อนไข 1)เงื่อนไขความรู้ เช่น รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง (4 ร) 2เงื่อนไขคุณธรรม เช่น ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน
สรุป 3 ห่วง TIP 1)ความพอประมาณ : อย่าทำอะไรเกินตัว 1)ความพอประมาณ : อย่าทำอะไรเกินตัว 2)ความมีเหตุผล : “คิด” ก่อนทำ 3)ความมีภูมิคุ้มกัน : วางแผนสำรองไว้ หาก “ล้ม”แล้ว “ลุก”ได้
หลักของความพอประมาณ (พอดี)5ประการ ข้อสรุปของสภาพัฒน์ฯ เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม 1.พอดีด้านจิตใจ ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน 2.พอดีด้านสังคม 3.พอดีด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ และเกิดความยั่งยืนสูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการ เป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม และพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน 4.พอดีด้านเทคโนโลยี 5.พอดีด้านเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน
หลักของความมีเหตุผล 5ประการ 1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ 2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ ภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพ 3 ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขาย ประกอบอาชีพ แบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง 4 ไม่หยุดนิ่งที่หาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก 5 ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น พยายามเพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
1)รู้เหตุ 2)รู้ผล 3)รู้ตน 4)รู้ประมาณ 5)รู้กาล 6)รู้บุคคล 7รู้ชุมชน ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม 7 TIP 1)รู้เหตุ 2)รู้ผล 3)รู้ตน 4)รู้ประมาณ 5)รู้กาล 6)รู้บุคคล 7รู้ชุมชน ความมีเหตุมีผล ความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดี
TIP เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจชาวพุทธ คือ เศรษฐกิจระบบ มัชฌิมาปฎิปทา
ครูนครบาล... เพชรบูรณ์
ทฤษฎีใหม่ NEW Theory หมายถึง แนวพระราชดำริในการจัดการบริหารที่ดินและแหล่งน้ำเพื่อเกษตรกรให้มีสัดส่วนในการใช้พื้นที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แนวพระราชดำริ “ทฤษฎีใหม่” เป็นแนวทางการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดยึดหลักการ “พึ่งตนเอง” ชุมชนต้องมีความสามัคคี ร่วมมือ ร่วมใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ควบคู่กับ “ความขยันหมั่นเพียรและอดทน” ขั้นที่หนึ่ง ผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงเลี้ยงตัวเองได้แบบ ประหยัด พออยู่พอกิน ลดค่าใช้จ่าย ขั้นที่สอง รวมพลังในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมทำ สร้างชุมชนเข้มแข็ง ขั้นที่สาม สร้างเครือข่าย ขยายกลุ่มออกไปนอกชุมชน สู่สังคม
เศรษฐกิจพอเพียงภาคเกษตร นา : 30 น้ำ : 30 สวน : 30 บ้าน : 10 TIP เศรษฐกิจพอเพียงภาคเกษตร นา : 30 น้ำ : 30 สวน : 30 บ้าน : 10
TIP พระราชดำริในหลวง ปลูก 3 อย่าง ได้ 4 อย่าง ปลูก 3 อย่าง ได้ 4 อย่าง 1)ไม้ใช้สอย 2)ไม้เศรษฐกิจ 3)ไม้กินได้ 1)ไม้ใช้สอย : สร้างบ้าน/ทำฟืน 2)ไม้กินได้ : ยาสมุนไพร 3)ไม้เศรษฐกิจ : เป็นแหล่งรายได้ 4)การอนุรักษ์ดินและน้ำ : เป็นการสร้างระบบนิเวศน์ที่ดีให้กับพื้นที่
การปฎิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1)หลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ 2)ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลด ความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ 3)"ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ่งเฟ้อต้องประหยัด ไปในทางที่ถูกต้อง" 4)ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง และสุจริต