ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร การวิจัยและพัฒนา ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.3 กลุ่มยาแก้ท้องเสีย (2) ยาเหลืองปิดสมุทร
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร พืชวัตถุ 16 ชนิด: แห้วหมู ขมิ้นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ กระเทียมคั่ว ดีปลี ชันย้อย ครั่ง สีเสียดเทศ สีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หนักสิ่งละ 1 ส่วน ขมิ้นชัน หนัก 6 ส่วน
ฤทธิ์แก้ท้องเสีย ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยา ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยา ฤทธิ์แก้ท้องเสีย ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพที่ก่อเกิดอาการท้องเสีย และลดการบีบตัวของลำไส้ : กระเทียม ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ดีปลี, ทับทิม
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยา ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยา ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพที่ก่อเกิดอาการท้องเสีย และลดการบีบตัวของลำไส้ : เพกา สีเสียดไทย สีเสียดเทศ หญ้าแห้วหมู เบญกานี
“การวิจัยและพัฒนาตำรับยาเหลืองปิดสมุทร” 1. การวิจัยและพัฒนาสารสกัดมาตรฐานของตำรับยา เหลืองปิดสมุทร 2. ฤทธิ์ฆ่าเชื้อก่อเกิดโรคอุจจาระร่วง 3. ฤทธิ์ยับยั้งอาการท้องเสียในสัตว์ทดลอง 4. พิษวิทยา: ความเป็นพิษเฉียบพลัน และกึ่งเรื้อรัง
การตรวจสอบคุณภาพทางเคมีของวัตถุดิบ ตรวจสอบกลุ่มสารทางเคมีตามวิธีของ Professor Farnswort หาปริมาณสารสำคัญคือสารกลุ่มแทนนิน: ตกตะกอนกับ gelatin ตัวอย่าง %Tannin เบญกานี (gall) 69.40 สีเสียดเทศ 45.10 ทับทิม (ใบ) 24.94 เทียนกิ่ง (ใบ) 8.56 สีเสียดไทย กล้วยตีบ 7.98 2.04
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาของตำรับ ยาเหลืองปิดสมุทร รศ.ดร.สีวบูรณ์ สิรีรัฐวงศ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การศึกษาฤทธิ์ยับยั้งอาการท้องเสีย ผลต่อการหดตัวของลำไส้เล็กส่วนปลาย (ไอเลียม) ของหนูตะเภา ผลต่อการเคลื่อนไหวของลำไส้หนูถีบจักร การเหนี่ยวนำให้เกิดท้องเสียด้วยน้ำมันละหุ่งในหนูขาว การศึกษาความเป็นพิษ ความเป็นพิษเฉียบพลันในหนูขาว ความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังในหนูขาว
ผลต่อการหดตัวของลำไส้เล็กส่วนไอเลียมของหนูตะเภาจากการเหนี่ยวนำด้วย acetylcholine ยาเหลืองปิดสมุทร ความเข้มข้น 0.25, 0.5 และ 1.0 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สามารถยับยั้งการหดตัวของลำไส้ ---> 23, 52 และ 78% ตามลำดับ ผลต่อการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร : ประเมินจากการเคลื่อนที่ของผงถ่าน ยาเหลืองปิดสมุทร ขนาด 1000, 2000 และ 4000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม --> ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ : ผงถ่านสามารถเคลื่อนที่ได้ 55, 43 และ 37% ผลต่ออาการท้องเสียจากการเหนี่ยวนำด้วย castor oil : ประเมินจากปริมาณของอุจจาระภายใน 4 ชม (กรัม) ยาเหลืองปิดสมุทร ขนาด 1000, 2000 และ 4000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ลดปริมาณอุจจาระภายใน 4 ชั่วโมง = 1.05, 0.7 และ 0.59 กรัม ตามลำดับ
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร ฤทธิ์ยับยั้งอาการท้องเสีย ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ ลดการหดตัวของลำไส้
ความเป็นพิษเฉียบพลัน : ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร สังเกตอาการแสดงของความเป็นพิษ น้ำหนักตัว พฤติกรรมทั่วไป ลักษณะการหายใจ อาการแสดงของระบบหัวใจและหลอดเลือด การเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง ขน และการตาย ฯลฯ การผ่าซากชันสูตร : เนื้อเยื่อและอวัยวะภายในต่างๆ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม หรืออาการแสดงของความเป็นพิษอื่นๆ ไม่พบลักษณะผิดปกติของอวัยวะภายในต่างๆ ขนาดของสารที่ทำให้สัตว์ทดลองตาย 50% (LD50) ---> มากกว่า 5000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทั้งในหนูขาวเพศผู้และเพศเมีย
ความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง (90 วัน) : ยาเหลืองปิดสมุทร (600, 1200 และ 2400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) สังเกตอาการแสดงของความเป็นพิษ พฤติกรรมทั่วไป ลักษณะการหายใจ อาการแสดงของระบบหัวใจและหลอดเลือด การเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง ขน รวมทั้งการตาย ฯลฯ น้ำหนักตัวและน้ำหนักอวัยวะภายใน ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม หรืออาการแสดงของความเป็นพิษอื่นๆ มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ค่าโลหิตวิทยาและค่าเคมีคลินิกในเลือด มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย (ค่ายังอยู่ในช่วยค่าปกติ) การตรวจทางพยาธิวิทยา ไม่พบลักษณะผิดปกติ
การศึกษาความเป็นพิษ ความเป็นพิษเฉียบพลัน ขนาดของสารที่ทำให้สัตว์ทดลองตาย 50% (LD50) ---> มากกว่า 5000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทั้งในหนูขาวเพศผู้และเพศเมีย ความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง (90 วัน) ยาเหลืองปิดสมุทร ขนาด 1000, 2000 และ 4000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ---> ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังในหนูขาว
ขนาดและวิธีการใช้ ขนาดการใช้ ในผู้ใหญ่ รับประทานคร้ังละ 1 กรัม ทกุ 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ6 – 12 ปี รับประทานคร้ังละ 800 มิลลิกรัม ทกุ 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงต้ังครรภ์และผู้ที่มีไข้ คำเตือน ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขี้น ควรปรึกษาแพทย์