แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
IQA network Why and How to ?
Advertisements

1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หน่วยงานราชการและภาคเอกชน จังหวัดกาฬสินธุ์ และ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
บทที่ 3 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและระบบสารสนเทศทางการตลาด
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
Line Manager is Leader.
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
โครงการพัฒนานักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2558 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ส่วนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี 2560-2564 แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี 2560-2564

VISION : ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ       พัฒนามหาวิทยาลัย เป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ จัดการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคมอย่างยั่งยืน Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

โครงร่างองค์กร มจร พุทธศาสตร์ยั่งยืน คุณภาพชีวิตดี ความรู้ดี คุณธรรมดี พระราชปณิธาน ร.๕ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง คำสั่งมหาเถรสมาคม พรบ.มจร ๒๕๔๐ พันธกิจ ผลิตบัณฑิต วิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่ บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ สิ่งส่งมอบ บัณฑิตที่พึงประสงค์ งานวิจัยสร้างสรรค์ คุณภาพงานบริการวิชาการ คุณค่าศิลปวัฒนธรรมเชิงพุทธ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พุทธศาสนิกชน รัฐบาล / ประเทศ ประชาคมโลก พระพุทธศาสนา ความรู้ดี คุณธรรมดี คุณภาพชีวิตดี สังคมดี พุทธศาสตร์ยั่งยืน Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

กระบวนการที่สำคัญในมหาวิทยาลัย (Value Chain) กระบวนการผลิตบัณฑิต กระบวนการวิจัย กระบวนการบริการวิชาการสู่ชุมชน กระบวนการส่งเสริมพระพุทธศาสนา กระบวนการทะนุบำรุง ศิลปะ วัฒนธรรม พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ศูนย์กลางการศึกษา การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล/พัฒนาระบบ ระบบข้อมูลและสารสนเทศ กฏหมาย/การเงินตรวจสอบภายใน Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

การวิเคราะห์หาโอกาสเชิงกลยุทธ์ Strengths อัตลักษณ์ชัดเจน ความรู้ด้านพระพุทธศาสนา ภาพลักษณ์ด้านธรรมาภิบาล Threats วัฒนธรรมการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ไม่เพียงพอ ขาดเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ การวิเคราะห์หาโอกาสเชิงกลยุทธ์ Weaknesses ขาดระบบการบริหารจัดการ ขาดจุดเด่นในการจัดการความรู้ กระบวนการเผยแผ่ความรู้ Opportunities เป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง มีเครือข่ายด้านพุทธศาสตร์ทั้งในและนอกประเทศ มี พรบ. จัดตั้งมหาวิทยาลัย Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

รูปแบบการบริหารการจัดการความรู้ใน มจร. BP= Best Practice Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

รูปแบบการบริหารการจัดการความรู้ใน มจร. กำกับดูแลการบริหารจัดการความรู้ เป็นต้นแบบ Role Model ในการจัดการความรู้ ถ่ายทอดนโยบาย KM ตามกรอบวิสัยทัศน์ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ KM ของส่วนงาน คณะกรรมการกำกับนโยบายการ จัดการความรู้ MCU (KM Sponsor) คณะกรรมการดำเนินงานจัดการความรู้ MCU ร่างนโยบายการจัดการความรู้ แผนติดตาม และแนวทางประเมินผล ผลักดัน สนับสนุน ส่งเสริม การใช้ประโยชน์องค์ความรู้ ให้ความรู้ กระตุ้น ส่งเสริม การจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ ผู้ประสานงานกับ KM Team ของส่วนงานต่างๆ (วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ , คณะ,สถาบัน , สำนัก , ศูนย์) ทำหน้าที่ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ กำกับการบริหารจัดการความรู้ในส่วนงาน เป็น Role Model การจัดการความรู้ในหน่วยงาน คณะอนุกรรมการการจัดการความรู้ประจำส่วนงาน เป็น Role Model การจัดการความรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ในส่วนงาน และสื่อสาร ถ่ายทอดแนวทางการจัดการความรู้ ประสานงาน KM Team เพื่อขับเคลื่อนการจัดการความรู้ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร KM Facilitator กระบวนการจัดการความรู้สู่การสร้างความเลิศของหน่วยงาน Best Practice ที่ตอบสนองความเป็นผู้นำด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ผู้เชี่ยวชาญที่สนับสนุนให้ มจร. เป็นผู้นำด้านการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ KM Portal ที่เชื่อมโยงกันทั้ง มจร. Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

เผยแพร่/แบ่งปันความรู้ แนวทางการการจัดการความรู้ในองค์กร ทบทวน กลยุทธ์องค์กร Gap Analysis กำหนดแผน การพัฒนาความรู้ จัดเก็บ องค์ความรู้ เผยแพร่/แบ่งปันความรู้ ประเมินผล Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แผนแม่บทการจัดการความรู้ มจร. 2560 - 2564 KM Vision : องค์กรแห่งการเรียนรู้วิถีพุทธ (Buddhist Learning Organization) Core Value : องค์กรวิถีพุทธ อุทิศชีวีเพื่อพุทธศาสน์ ผลลัพธ์องค์กร ( Impact) 1. จำนวนผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา (ตัวบ่งชี้ =ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) 2. จำนวนความรู้ด้านพระพุทธศาสนาที่ได้รับอ้างอิง (ตัวบ่งชี้ = มากกว่าร้อยละ 5 จากปีฐาน) 3. ศูนย์ข้อมูลด้านพระพุทธศาสนา (ตัวบ่งชี้ = อยู่ในอันดับ 1-5 ของการสืบค้นข้อมูลทาง Internet) ยุทธศาสตร์ SPKM1 : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ SPKM2: พัฒนากระบวนการและวัฒนธรรมการเรียนรู้ SPKM3: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ ปรัชญาการดำเนินงานในแต่ละช่วงเวลา มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ที่เป็นเลิศ Sustainability & Excellence แบ่งปันสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ Sharing to Success ยกระดับสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ Start Up & Standard 2560 2561 2562-2564 Culture วัฒนธรรม M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity ต้นแบบวิถีพุทธ มีอุตสาหะเพื่อมหาวิทยาลัย รวมใจกันเป็นหนึ่ง Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน SPKM1 : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตัวบ่งชี้ยุทธศาสตร์ (outcome ) = 1. บุคลากรมีความเชี่ยวชาญร้อยละ ๒๕ ในปี ๒๕๖๔ กลยุทธ์ ผลผลิต (output) เป้าหมายความสำเร็จ แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน 60 61 62 63 64 S1.1 ให้ความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการจัดการความรู้ ผู้บริหารและบุคลากรได้รับความรู้เรื่องการจัดการความรู้ ผู้ประสานงานการจัดการความรู้ ( KM Facilitator ) มีความเชี่ยวชาญ % - 70 25 80 90 100 - ให้ความรู้การจัดการความรู้และแผนแม่บทการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย ผู้บริหารระดับสูง ผุ้บริหารระดับกลาง บุคลากรตัวแทนหน่วยงาน --พัฒนายกระดับผู้ประสานงาน KM สู่ผู้เชี่ยวชาญด้าน KM * KM Tools * KM Strategy * KM Assessor สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารระดับสูงของส่วนงาน การบูรณาการการจัดการความรู้ของส่วนงาน ส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอกส่วนงาน ส่งผู้ประสานงานเข้ารับการพัฒนากับส่วนกลาง Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน SPKM1 : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตัวบ่งชี้ยุทธศาสตร์ (outcome ) 2. มี Best Practice ด้านการศึกษาพระพุทธศาสนา กลยุทธ์ ผลผลิต (output) เป้าหมายความสำเร็จ แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน 60 61 62 63 64 S1.2 Best Practice Sharing Best Practice ร้อยละความรู้ด้านพระพุทธศาสนาที่เพิ่มขึ้น ร้อยละผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา 1 ปีฐาน + 10 % 5 +5 +10 - กำหนดเกณฑ์ Best Practice ของ มจร. -กำหนดเกณฑ์ผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา -กำหนดเกณฑ์ผู้เชี่ยวชาญด้านงานสนับสนุนองค์กร -สื่อสารทั่วทั้งองค์กร -จัดงานนำเสนอผลงานของส่วนงาน , ผู้เชี่ยวชาญประจำปี -นำเสนอ Best Practice ของส่วนงาน -นำเสนอผู้เชี่ยวชาญตัวแทนส่วนงาน -ร่วมนำเสนอผลงานการจัดการความรู้ประจำปีกับส่วนกลาง Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน SPKM2: พัฒนากระบวนการและวัฒนธรรมการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ยุทธศาสตร์ (outcome ) = มีกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็นมาตรฐาน 1 คู่มือ = ทุกส่วนงานเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ กลยุทธ์ ผลผลิต (output) เป้าหมายความสำเร็จ แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน 60 61 62 63 64 S2.1 คู่มือมาตรฐานการจัดการความรู้องค์กร ร้อยละความสำเร็จของการจัดทำคู่มือการจัดการความรู้ มจร. % 100% - จัดทำคู่มือการจัดการความรู้ที่ประกอบด้วย -กระบวนการ -แบบฟอร์ม -แนวทางติดตาม ประเมินผล -บทบาทและหน้าที่ ส่งตัวแทนเข้าร่วมจัดทำคู่มือตามคำร้องขอ นำคู่มือฯ นำไปสู่การปฏิบัติในส่วนงาน S2.2 สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ทุกส่วนงานมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอก - 50 70 80 กำหนดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องที่เป็น Critical ขององค์กร กำหนดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่องที่เป็น Critical ขององค์กรอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี จำนวนผู้บริหารทุกระดับที่ผ่านเกณฑ์ leadership role Model 10% 20% 30% 40% 50% กำหนดพฤติกรรมพึงประสงค์ด้าน KM ส่งเสริมให้ผู้บริหารปฏิบัติตามข้อกำหนด Leadership Role Model Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน SPKM3: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ ตัวบ่งชี้ยุทธศาสตร์ (outcome ) = มีศูนย์ข้อมูลด้านพระพุทธศาสนา กลยุทธ์ ผลผลิต (output) เป้าหมายความสำเร็จ แนวทางการดำเนินงานของ มจร. แนวทางการดำเนินงานของส่วนงาน 60 61 62 63 64 S3.1 Data Center of Buddhist ร้อยละความสำเร็จของ Data center of Buddhist 80 100 - พัฒนาระบบ Data center of Buddhist -รวบรวมความต้องการและสนับสนุนส่วนกลางตามคำร้องขอ -ใช้งานและแบ่งปันความรู้ผ่าน Data Center S3.2 KM anytime anywhere ระบบ KM Application พัฒนา KM Application -ส่งเสริมให้บุคลากรใช้งาน KM Application S3.3 KM Show & Share การนำความรู้ในระบบไปประยุกต์ใช้ (เรื่อง/ส่วนงาน) 3 - ส่งเสริมการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในระบบ -นำความรู้เข้าระบบ -ใช้ความรู้ในระบบ -คัดเลือกผู้มีผลงานยอดเยี่ยมของส่วนงาน (Show & Share) Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2560 Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

การดำเนินการหลัก/ย่อย แผนปฏิบัติการ KM ประจำปี 2560 โครงการที่ ๑ : สร้างผู้เชี่ยวชาญในองค์กร สนับสนุนยุทธศาสตร์ : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ วัตถุประสงค์ : สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการความรู้ไปในทิศทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร : สร้างผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาพระพุทธศาสนา งบประมาณ : 220,000 หน่วยงานรับผิดชอบ : กองกลาง , คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา เป้าหมายปี ๒๕๕๙ : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม การดำเนินการหลัก/ย่อย ผลผลิต (Output) ๒๕๕9 ๒๕60 งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค เม.ย. – มิ.ย. ก.ค. – ก.ย. 1. กำหนดกลุ่มเป้าหมายการสื่อความเรื่องการจัดการความรู้และดำเนินการให้ความรู้ด้านการจัดการความรู้ ๑.๑ ผู้บริหารระดับสูง ๑.๒ ผู้บริหารระดับกลาง ๑.3 บุคลากรที่ได้รับมอบหมาย (KM Facilitator) 2. ประชาสัมพันธ์แนวคิด แนวทางการจัดการความรู้ของ มจร. ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ในองค์กร / ส่วนงาน 3. พัฒนาคณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้วยการจัดทัศนศึกษาองค์กรที่เป็นเลิศด้านการจัดการความรู้ 4.ส่งเสริมผู้เชี่ยวชาญด้านพระพุทธศาสนา   กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 สื่อประชาสัมพันธ์ 1 ครั้ง 1 ช่องทาง / ไตรมาส ดูงานด้านการจัดการความรู้ 1 ครั้ง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับองค์กร 2 ครั้ง 150,000 20,000 50,000 กองกลาง , ทุกส่วนงาน กองกลาง , คณะกรรมการดำเนินงาน KM Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

การดำเนินการหลัก/ย่อย แผนปฏิบัติการ KM ประจำปี 2560 โครงการที่ 2 : มาตรฐานคู่มือการจัดการความรู้องค์กร สนับสนุนยุทธศาสตร์ : พัฒนากระบวนการและวัฒนธรรมการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ : มีการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ไปในแนวทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร งบประมาณ : 10,000 หน่วยงานรับผิดชอบ : กองกลาง สำนักงานอธิการบดี , ทุกส่วนงาน , คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ มจร. ตัวชี้วัด : มีคู่มือจัดการความรู้ตามกรอบความเป็นเลิศด้านการศึกษา เป้าหมายปี ๒๕๕๙ : ๑. มีคู่มือการจัดการความรู้ ๒. มีหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติผู้เชี่ยวชาญ , Best Practice การดำเนินการหลัก/ย่อย ผลผลิต (Output) ๒๕๕9 ๒๕60 งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค เม.ย. – มิ.ย. ก.ค. – ก.ย. จัดทำร่างคู่มือการจัดการความรู้องค์กรที่ประกอบด้วย กระบวนการ แบบฟอร์มต่างๆ แนวทางการติดตาม เกณท์ Best Practice 2. สื่อสารคู่มือไปยังทุกส่วนงาน และทุกช่องทางการสื่อสารใน มจร. 3. ติดตามผลการดำเนินงานตามคู่มือการจัดการความรู้ -คู่มือการจัดการความรู้ มจร. ผู้บริหารทุกส่วนงานรับทราบ รายงานผลความก้าวหน้าการจัดการความรู้   10,000 กองกลาง , ทุกส่วนงาน , คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

การดำเนินการหลัก/ย่อย แผนปฏิบัติการ KM ประจำปี 2560 โครงการที่ 3 : Data Center of Buddhist สนับสนุนยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้ วัตถุประสงค์ : มีศูนย์ข้อมูลด้านพระพุทธศาสนา : มีพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างส่วนงานทั่วประเทศ งบประมาณ : 200,000 หน่วยงานรับผิดชอบ : 1.กองกลาง สำนักงานอธิการบดี ๒.ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดฯ ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของ Data center of Buddhist เป้าหมายปี ๒๕๕๙ : Data Center of Buddhist ร้อยละ ๖๐ การดำเนินการหลัก/ย่อย ผลผลิต (Output) ๒๕๕9 ๒๕60 งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค เม.ย. – มิ.ย. ก.ค. – ก.ย. สำรวจความต้องการและแนวโน้มการใช้งานด้าน IT กำหนดรูปแบบของ KMS ดำเนินการพัฒนา KMS ทดลองนำองค์ความรู้เข้าระบบ สื่อสารให้บุคลากรเข้ามาใช้งาน ผลสำเร็จของ Data center of Buddhist ร้อยละ 60   200,000 -กองกลาง -ส่วนเทคโน โลยีสารสนเทศ Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

การดำเนินการหลัก/ย่อย แผนปฏิบัติการ KM ประจำปี 2560 โครงการที่ 4 : ส่งเสริมการจัดการความรู้ทั่วทั้งองค์กร สนับสนุนยุทธศาสตร์ : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ วัตถุประสงค์ : ยกย่อง ชมเชยหน่วยงานที่มีการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ได้อย่างสอดคล้องและเป็นไปตามแนวทางของมหาวิทยาลัยฯ : ยกย่องชมเชยผู้ที่มีผลงานดีเด่นในด้านการจัดการความรู้ : เผยแผ่กระบวนการจัดการความรู้ให้เกิดการทำไปสู่การปฏิบัติ งบประมาณ : 200,000 หน่วยงานรับผิดชอบ : -คณะกรรมการดำเนินงาน KM -คณะอนุกรรมการ KM ประจำส่วนงาน ตัวชี้วัด : ๑. มีผลการติดตามการดำเนินงานรายไตรมาส 2. มีการจัดงาน KM Day เป้าหมายปี ๒๕๕๙ : ทุกส่วนงานมีผลการดำเนินงานรายไตรมาส : มีการนำเสนอผลการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ครบทุกส่วนงาน ( 100 %) การดำเนินการหลัก/ย่อย ผลผลิต (Output) ๒๕๕9 ๒๕60 งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบ ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค เม.ย. – มิ.ย. ก.ค. – ก.ย. ติดตามผลการดำเนินงานรายไตรมาส 2. จัดงาน KM Day แต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานและคณะกรรมการประเมินผลงาน KM ประจำปี 2560 กำหนดแนวทางการนำเสนอผลงาน นำเสนอผลการดำเนินงานจากทุกส่วนงาน นำเสนอต้นแบบหรือแนววิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) นำเสนอผู้เชี่ยวชาญของส่วนงาน มอบรางวัลกับหน่วยงานที่ผ่านการประเมิน 3. สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2560 - รายงานความก้าวหน้า - งาน KM day - รายงานผลการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้องค์กรประจำปี 2560   200,000 -คณะกรรม การดำเนิน งาน KM -คณะอนุ กรรมการ KM ประจำส่วนงาน Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

Key Success factor มีน้ำใจ ให้น้ำคำ ทำด้วยมือ มจร. Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

ติดตามประผลการดำเนินงานทุกส่วนงานเป็นรายไตรมาส ปฏิทินงานการจัดการความรู้ MCU สื่อสารแนวทางการจัดการความรู้องค์กรผู้บริหารระดับสูง 18 ก.ค. 60 MCU KM day จัดทำแผนแม่บท KM 30 มิ.ย.60 พิจารณาผลงาน KM จากทุกส่วนงาน ถ่ายทอดสู่แผนปฏิบัติการให้ส่วนงาน พัฒนา KM facilitator รายงานผลการดำเนินงานด้าน KM ประจำปี 2560 พร้อมจัดทำแผนปฏิบัติการปี 61 ติดตามประผลการดำเนินงานทุกส่วนงานเป็นรายไตรมาส ทุกส่วนงานนำแผนไปดำเนินงาน มิ.ย.2559 ก.ค.2559 ' 59 ก.พ. 2560 ก.ค. ส.ค. ‘60 Today KM Fa ดำเนินการจัดการความรู้ของหน่วยตามเป้าหมายองค์กร ค้นหาคนต้นแบบ Culture : M = Mastery of Buddhism C = Compassionate & Collaboration U = Unity

ตัวอย่างการรายงาน ผลการจัดการความรู้ ส่วนงาน ................................

1 กำหนดทิศทางและเป้าหมายการบริหารจัดการความรู้ วิสัยทัศน์ มจร. __________________________________________________________________________________________ วิสัยทัศน์ความรู้ มจร. ________________________________________________________________________________________________________ วิสัยทัศน์ ส่วนงาน. __________________________________________________________________________________________ วิสัยทัศน์ความรู้ ส่วนงาน. _________________________________________________________________________________________________________ Designed by Guild Design Inc.

2 กำหนดและจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อความรู้ พันธกิจ/ยุทธศาสตร์/กระบวนการ องค์ความรู้ ความสำคัญของความรู้ (1-5) คะแนนรวม ความถี่ของใช้ มีผลต่อค่าใช้จ่ายหรือกำไร ทรัพยากร สนับสนุนวิสัยทัศน์/พันธกิจ ความวิกฤติความรู้ Designed by Guild Design Inc.

3 การวางกลยุทธ์การจัดการความรู้ (แผนปฏิบัติการ) เดือน รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ เดือน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

การสร้าง แบ่งปัน จัดเก็บความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้และมุ่งสู่การพัฒนา Best Practice

Practices และ Lesson Learnt ที่มีการ share

รายละเอียดกิจกรรม 1

รายละเอียดกิจกรรม 2

ผลการจัดการความรู้ เชิงปริมาณ ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………. เชิงคุณภาพ