เภสัชวิทยา (Pharmacology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครเมี่ยม (Cr).
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การให้ยาฉีด อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
เรื่อง อันตรายของเสียง
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
แผ่นดินไหว.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ขดลวดพยุงสายยาง.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ด้วยตัวเอง โดยใช้แรงต้าน
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เภสัชวิทยา (Pharmacology) เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาและชีวประสิทธิผล ผลึกพล ตาบทิพย์วรรณ crystalwart@hotmail.com

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) Outline เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ข้อดี ข้อเสียของการบริหารยาด้วยวิธีต่างๆ ชีวประสิทธิผล (Bioavailability)

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ร่างกายทำอะไรกับยา เริ่มตั้งแต่การบริหารยาเข้าสู่ร่างกาย จนยาหมดไปจากร่างกาย มีกระบวนการ 4 ขั้นตอน การดูดซึมยา (Absorption) การกระจายยา (Distribution) การเปลี่ยนแปลงยา (Metabolism) การขับถ่ายยา (Elimination)

ผ่านผิวหนัง (Transdermal) พ่นหรือสูดดมยา (Inhalation) เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) วิธีบริหารยา (Routes of drug administration) กินยา (Oral) ฉีดยา (Parenteral) อื่นๆ ผ่านผิวหนัง (Transdermal) พ่นหรือสูดดมยา (Inhalation) ใช้เฉพาะที่ (Topical) เหน็บทวารหนักหรือช่องคลอด (Suppositories)

First-pass metabolism เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) กินยา (Oral/Enteral administration) กินยา (Oral) First-pass metabolism

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) First-pass metabolism เมื่อยาดูดซึมผ่านทางเดินอาหาร ก่อนเข้าสู่กระแสเลือด จะต้องผ่านเข้าระบบไหลเวียน Portal ก่อน ยาจึงถูกดูดซึมเข้าที่ตับก่อนที่จะไปส่วนต่างๆ

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) First-pass metabolism การดูดซึมยามักจะไม่ได้ถึง 100% ก่อนที่จะส่งไปยัง portal เราจะเรียกว่า fraction of gut absorption หรือ fg หมายถึง ยาถูกดูดซึมไปสู่ portal เป็นจำนวนเท่าไหร่ เมื่อยาถูกกำจัดโดยตับโดยกระบวนการนี้ เราจะเรียกว่า hepatic extraction ratio หรือ EH ดังนั้น สัดส่วนของยาที่ผ่านตับไปได้คือ FH หรือนิยามว่า fH = 1-EH เราจะสามารถหาสัดส่วนของยาที่เข้าสู่กระแสเลือดหรือเรียกอีกอย่างว่าชีวประสิทธิผล Bioavailability หรือแทนด้วย F จะหาได้โดย F = fg x fH

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) First-pass metabolism F = fg x fH

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ชีวประสิทธิผล (Bioavailability : F) คือสัดส่วนของยาที่เข้าสู่กระแสเลือดหลังให้ยา การฉีดยาเข้าเส้นเลือดดำ ถือว่า ยาเข้าสู่กระแสเลือดได้ทั้งหมด ฉะนั้นจึงถือว่า F = 1 หรือ 100% การบริหารยาด้วยวิธีอื่นๆ จะไม่ได้ถึง 100% เนื่องจากการดูดซึมที่ไม่สมบูรณ์และ first-pass metabolism มีประโยชน์ในการใช้คำนวณปริมาณยาที่จะให้คนไข้ ในกรณีที่ไม่ได้ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ หาได้โดยการเปรียบเทียบระดับยาในเลือดหลังบริหารยาโดยวิธีอื่นๆกับการฉีดยาเข้าเส้นเลือดดำ

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ชีวประสิทธิผล (Bioavailability : F) วิธีการ ให้ยาขนาดเท่ากันทั้งกินและฉีดเข้าเส้นเลือดดำ เจาะหาระดับยาในเลือดที่เวลาต่างๆ หลังบริหารยาทั้ง 2 วิธี นำค่าที่ได้มาสร้างกราฟ คำนวณสิ สร้างกราฟแล้วนิ ด้วยสูตร AUC oral Bioavailability (F) = 100 AUC infected พื้นที่ใต้กราฟกิน ชีวประสิทธิผล (F) = 100 พื้นที่ใต้กราฟฉีด

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ชีวประสิทธิผล (Bioavailability : F)

ปัจจัยที่มีผลต่อชีวประสิทธิผล เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ชีวประสิทธิผล (Bioavailability : F) ปัจจัยที่มีผลต่อชีวประสิทธิผล 1.First-pass metabolism 2.การละลายในไขมันของยา 3.อาหารในทางเดินอาหาร 4.รูปแบบยา เช่น ยาเม็ด ยาน้ำ ยาแคปซูล 5.ปัจจัยทางสรีรวิทยา และโรคเดิมของผู้ป่วย เช่น เพศ อายุ น้ำหนัก โรคประจำตัว

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาด้วยการฉีด ฉีดยาเข้าเส้นเลือดดำ (Intravenous administration : IV) ข้อดี ออกฤทธิ์ได้เร็ว ปรับขนาดยาได้ตามต้องการ ใช้กับยาโมเลกุลใหญ่ที่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์ได้ยาก ให้ได้แม้ว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ให้ยาในปริมาณมากๆได้ ข้อเสีย เจ็บ เสี่ยง ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ และกระทำด้วยความระมัดระวัง

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาด้วยการฉีด ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ( Intramuscular administration : IM) ข้อดี ไม่ต้องเสียเวลาหาเส้นเลือด ข้อเสีย เจ็บ เสี่ยง การดูดซึมไม่แน่นอนเท่าการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ไม่สามารถให้ยาในปริมาณมากๆได้

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาด้วยการฉีด ฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง(Subcutaneous administration : SC) ข้อดี ไม่ต้องเสียเวลาหาเส้นเลือด ผู้ป่วยฉีดยาให้ตัวเองได้ ข้อเสีย เจ็บ เสี่ยง การดูดซึมไม่แน่นอนเท่าการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ไม่สามารถให้ยาในปริมาณมากๆได้

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาเฉพาะที่ ยาใช้เฉพาะที่ (Tropical administration) ข้อดี ได้รับยาตรงตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ มีผลข้างเคียงต่อระบบอื่นๆน้อย ข้อเสีย ยาบางชนิดอาจมีผลข้างเคียงต่อระบบอื่นๆ ถ้าใช้ติดต่อกันไปเป็นระยะเวลานานๆ

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาพ่น ยาพ่น(Inhalation) ข้อดี ออกฤทธิ์เร็วที่หลอดลมโดยตรง ใช้ในการช่วยลดอาการทางระบบหายใจ มีผลข้างเคียงต่อระบบอื่นๆน้อย ข้อเสีย จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ สำหรับพ่นยา

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) การบริหารยาเหน็บ ยาเหน็บ(Suppositories) ยาเหน็บทวารหนัก (Rectal suppositories) ข้อดี ครึ่งนึงของยาไม่ผ่าน first-pass metabolism ข้อเสีย การดูดซึมไม่แน่นอน ผู้ป่วยไม่คุ้นเคย อาจปฏิเสธการรักษา ยาเหน็บช่องคลอด(Vaginal suppositories) ได้ยาตรงตามตำแหน่งที่ต้องการให้ออกฤทธิ์

เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) ผลของการบริหารยา แบ่งเป็น 2 อย่าง 1. ผลเฉพาะที่ (Local effects) บริหารยาในบริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์โดยตรง ไม่จำเป็นต้องดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด 2. ผลทั่วร่างกาย (Systematic effects) ยาต้องมีการดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด เพื่อกระจายไปยังตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ ยกเว้นการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ ไม่ต้องอาศัยการดูดซึมยา