ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Advertisements

วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สร้างเครือข่ายในชุมชน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ ทิศทางการดำเนินงาน ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ การประชุมเชิงปฏิบัติการทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ระหว่างวันที่ 19 -20 ต.ค. 58 ณ รร.มิราเคิล แกรนด์ กทม.

ทิศทางนโยบายของท่านปลัดโสภณ วัยทำงาน NCDs : ใช้ CKD เป็น Entry point ทำการคัดกรองใน ประชาชนและภาวะแทรกซ้อน 4 ต (ตา ไต เท้า CVD risk) อุบัติเหตุทางถนน : เน้นการจัดการข้อมูลและนำไปใช้ ผลักดันการดำเนินงาน กลยุทธ์ DHS พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค Service plan : - เป้าหมายลดป่วย/ลดตาย เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ระบบการส่งต่อที่ ไร้รอยต่อ ลดความแออัด ประชาชนพอใจ

เป้าหมาย 59 วัยเรียน วัยรุ่น กลุ่มวัย วัยทำงาน จมน้ำ : อัตราตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสน (เกิน 770 คน) ทีมก่อการดี (Merit Maker) อำเภอละ 1 ทีม ในพื้นที่เสี่ยงสูง วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่ม ใน ปชก. 15-19 ปี ไม่เกิน 13 % ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (15-18 ปี) ไม่เกิน 10 % วัยทำงาน CVD : ผู้ป่วยรายใหม่ IHD ลดลง นำร่อง 15 จังหวัด องค์กรหัวใจดี (เทศบาลใน15 จังหวัด)  คลินิก NCD คุณภาพ : DM&HT ควบคุมน้ำตาล/ความดัน ได้ดี อุบัติเหตุ : ลดตายในช่วงเทศกาลปีใหม่และสงกรานต์ ด่านชุมชนทุกอำเภอในพื้นที่เสี่ยง ทีมสอบสวนการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มวัย (บูรณาการชาติ)

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

Quick Win สำหรับการดำเนินงานลดโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2559 NCD RTI จมน้ำ มาตรการ ขับเคลื่อนงานผ่าน DHS/DC มาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) จัดการข้อมูลและสอบสวนอุบัติเหตุ มาตรการองค์กร PP Plan 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 3.บังคับใช้กม. 4.คลินิก NCD คุณภาพ 1.สร้างทีม “ผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการจมน้ำ” 2.สื่อสารประชาสัมพันธ์ Service plan DM HT CKD & CVD MODEL เป้าหมาย พัฒนาทีมวิทยากรพี่เลี้ยง 1,000 คน อบรมพี่เลี้ยง 60 คน Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% การบาดเจ็บและการเสียชีวิตภาพรวมในเทศกาลปีใหม่ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50% พัฒนา SM ระดับเขต 50% มีทีมผู้ก่อการดีเพิ่มอีก 200 ทีม (1 ทีม/อำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง) 3 M -มีการจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง อย่างน้อย 600 แห่ง -ศูนย์เด็กเล็กได้รับการจัดการอย่างน้อย 200 แห่ง 6 M อบรมอสม.52,236 คน อบรมผู้ประเมินสปก.50 คน กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% การบาดเจ็บและการตายภาพรวมในเทศกาลสงกรานต์ลดลง พื้นที่ดำเนินการด่านชุมชน (อย่างน้อย 40 อำเภอ) ลดตาย 50 % พื้นที่ขับเคลื่อนงานผ่านDHS/DC Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) 9 M -เด็กได้เรียนหลักสูตรการว่ายน้ำฯ อย่างน้อย 20,000 -อุบัติเหตุของรถพยาบาลลดลงจากปีที่ผ่านมาในช่วงเวลาเดียวกัน -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล ตำบลจัดการสุขภาพผ่านเกณฑ์ 70% สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง 12 M การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี < 770 คน (< 6.5 ต่อปชก.เด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน) -อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนนของเขตลดลงอย่างน้อย 21%

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ ผลการดำเนินงาน 2558 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และป้องกันเด็กจมน้ำ คลินิก NCD คุณภาพ 1.คลินิก NCD คุณภาพ 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง (96.3%) เป้าปี 59 ประเมินครบ ร้อยละ 100 = 853 แห่ง 2. ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันได้ดีปี 58 : ร้อยละ 38.2 /41.5 (MedResNet) 3. อัตราตาย CHD (รอบ 9 เดือน ปี58) : 20.32/ปชก.แสนคน (ปี 57 =26.77,ปี 56=26.91) อุบัติเหตุทางถนน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนน รอบ 9 เดือน : 13.98/ประชากรแสนคน มี MR.RTI 24 คน มีด่านชุมชน 206 แห่ง และพัฒนาทีมด่านชุมชน (การใช้ข้อมูล) 16 จังหวัด DHS งาน RTI > 90 อำเภอ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อุบัติเหตุ และการป้องกันเด็กจมน้ำ สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเนินงานเพื่อลดโรค NCDs - คู่มือการจัดบริการสุขภาพ”กลุ่มวัยทำงาน” 2558 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข แนวทางการคัดกรอง ประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต" (ตา ไต ตีน ตีบ) CVD risk & CKD ประเมินโอกาสเสี่ยงโรค CVD และดำเนินการในพื้นที่นำร่อง (สิงห์บุรี,อ่างทอง) พัฒนารูปแบบการจัดบริการคลินิกโรค CKD พัฒนาบุคลากร อบรม Case Manager (ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) 2 รุ่น (120 คน) อบรม System Manager (120 คน) จมน้ำ -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) รอบ 9 เดือน : เป้าหมายประเทศ 2558 : Rate 6.5 หรือ 770 คน ผล : 543 คน (ณ 16 กค.58) -มีเครือข่ายทีมผู้ก่อการดีจำนวน 350 ทีม

แสดงความชุก การสูบบุหรี่ในปัจจุบัน ระดับเขตสุขภาพ ทั้ง 12 แห่ง พบความชุก ตั้งแต่ 14.8 – 27.6 ผลการสำรวจ BRFSS ปี 2558

ที่ระดับเขตสุขภาพ พบความชุกตั้งแต่ 64. 4 ถึง 86 ที่ระดับเขตสุขภาพ พบความชุกตั้งแต่ 64.4 ถึง 86.7 ผู้ชายมีความชุกสูงกว่า ผู้หญิง เล็กน้อบ ผลการสำรวจ BRFSS ปี 2558

ภาวะน้ำหนักเกิน overweight มีค่าความชุก ตั้งแต่ 25. 2 ถึง 38 ผลการสำรวจ BRFSS ปี 2558

ผลการสำรวจ BRFSS ปี 2558

ผลการสำรวจ BRFSS ปี 2558

ผลการศึกษาตามตัวชี้วัดผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ปี 2558 (กลุ่มตัวอย่าง 32,596 คน) ได้รับการการตรวจหาระดับ FPG ร้อยละ 93.2 - มีระดับ FPG อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (70-130 mg/dL) ร้อยละ 38.2 (57 = 37.9) ได้รับการตรวจหาระดับ HbA1C ประจำปีอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปีร้อยละ 80.8 - มีระดับ HbA1C < 7% ร้อยละ 36.3 (57 = 35.6) ที่มา : MedResNet 2557,2558

ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ผลการศึกษาตามตัวชี้วัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2558 (กลุ่มตัวอย่าง 32,420 คน) ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (HT<140/90 mmHg และ DM&HT≤130/80 mmHg) ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ควบคุมได้ 1 ครั้งล่าสุด ร้อยละ 60.9 (57 = 65.3) ควบคุมได้ 2 ครั้ง ติดต่อกัน ร้อยละ 41.5 (57 = 42.7) ควบคุมได้ 3 ครั้ง ติดต่อกัน ร้อยละ 32.3 (57 = 30.5) ที่มา : MedResNet 2557,2558

อัตราตาย IHD ต่อประชากรแสนคน (ทุกกลุ่มอายุ) ปีงบประมาณ 2555-2557จำแนกรายเขตสุขภาพ อัตราตาย Stroke (I60-I69)ต่อประชากรแสนคน ปีงบประมาณ 2555-2557 จำแนกรายเขตสุขภาพ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำแนกตามเขต สปสช. 2555 - 2557 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดหัวใจทั้งหมด ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำแนกตามเขต 2555 - 2557 (ที่มา : Med Res Net 2557)

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำแนกตามเขต สปสช. 2555 - 2557 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหัวใจและหลอดเลือดหัวใจทั้งหมด ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำแนกตามเขต 2555 - 2557 (ที่มา : Med Res Net 2557)

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ ปี 2555 - 2557 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ ปี 2555 - 2557

(ที่มา : Med Res Net 2557)

SI3M : กรอบการพัฒนาและติดตามประเมินผล จุดเด่นในการขับเคลื่อนการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับเขต SI3M : กรอบการพัฒนาและติดตามประเมินผล Structure: มีคำสั่ง คกก./คณะทำงาน NCDs ในระดับเขต ที่มีบทบาทชัดเจน และบูรณาการศูนย์วิชาการที่มีอยู่ในเขตสุขภาพ และควรมีคกก.กลุ่มวัยฯระดับเขต เพื่อร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน SM/CM มีครอบคลุมทุกจังหวัดและอำเภอ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนงานทั้งระบบ ควรมีการมอบหมายงานชัดเจน และพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง Information: ระบบข้อมูลสารสนเทศในภาพเขตยังต้องพัฒนาฐานข้อมูลโรค NCDs ที่มีความครอบคลุม ครบถ้วน สามารถดึงข้อมูลจาก 43 แฟ้ม เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลไปในแนวทางเดียวกัน และให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลทุกระดับ (อำเภอ จังหวัดและเขต) นำไปวิเคราะห์สถานการณ์ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ Intervention/Innovation: เขตมีกิจกรรม/นวัตกรรมที่ตอบสนองต่อการดำเนินงาน NCDs Integration: มีการบูรณาการดำเนินงานในระดับพื้นที่ทั้งการบริหารจัดการและระบบบริการ และมีการใช้ทรัพยากรร่วมกันในการพัฒนาและป้องกันแก้ไขปัญหา NCDs M & E: ส่วนใหญ่เขตมีการติดตามการดำเนินงานผ่านการตรวจราชการ การนิเทศและ รายงานผลตามตัวชี้วัด แต่ยังขาดการประเมินผลเชิงคุณภาพและปริมาณ ซึ่งอาจมีคณะกรรมการติดตามประเมินผลของเขตที่อาจทำหน้าที่เป็น External audit

คู่มือสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เพื่อลดโรค NCDs คู่มือการจัดบริการสุขภาพ”กลุ่มวัยทำงาน” 2558 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข แนวทางการคัดกรอง ประเมินและดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต" (ตา ไต ตีน ตีบ)

กรอบการดำเนินงานสำหรับ NCDs ปี 2559 S : Structure I : Intervention and Innovation I : Information I : Integration M : Monitoring and Evaluation SIM3 ขับเคลื่อน ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การจัดบริการคลินิกโรค CKD การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS/DC + system manager ระดับอำเภอ คัดกรอง DM&HT Basic Service มาตรการ ปชช.มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสียงต่อโรคไม่ติดต่อ ปชช.ได้รับการประเมินและจัดการเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด ผลผลิต KPI จังหวัด - คลินิก NCD คุณภาพ > 70% - CVD Risk > 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม KPI เขต - DM,HT controlled 40/50% DM,HT รายใหม่ลดลง KPI ประเทศ - อัตราป่วยรายใหม่ IHD ลดลง

ตำบลจัดการสุขภาพ 1 2 3 4 5 6 7 อสม. แผนสุขภาพตำบล กิจกรรมสุขภาพ ระดับ เครือข่าย พัฒนาทีม แผนสุขภาพตำบล กิจกรรม ผลลัพธ์การพัฒนา นวัตกรรม/ศูนย์เรียนรู้ พื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก ดีเยี่ยม 1 อสม. แผนสุขภาพตำบล กิจกรรมสุขภาพ การมีส่วนร่วมของ อปท. 2 3 แผนงาน/ กิจกรรม เป้าหมายลด NCDs 4 5 6 7 เฝ้าระวัง/ คัดกรอง สื่อสารด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อปรับพฤติกรรม -3อ 2ส ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม -เอื้อสุขภาพดี กำหนดมาตรการสังคม/ข้อตกลงร่วม

ผลการดำเนินงาน ตำบลมีการจัดการด้านสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตำบลจัดการสุขภาพ เขต 1 เขต 2 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 7 เขต 8 เขต 9 เขต 10 เขต 11 เขต 12 จำนวนตำบลเป้าหมาย 658 228 265 372 344 370 357 322 653 351 287 565 จำนวนตำบลที่ประเมิน 377 175 182 179 341 326 314 604 243 190 561 ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป 310 (47.11) 119 (52.19) 135 (50.94) 158 (42.47) 300 (87.21) 331 (89.46) (84.03) 291 (90.37) 563 (86.22) 222 (63.25) 164 (57.14) 510 (90.27) จำนวนตำบลเป้าหมาย 4,772 ตำบล ผ่านประเมินระดับดีขึ้นไป 3,403 ตำบล คิดเป็นร้อยละ 71.31 ที่มา http://www.thaiphc.net ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.ย.58 ส่วนกลางจัดทำคู่มือสนับสนุน “ตำบลจัดการสุขภาพ” - แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี เพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน - คู่มือวิทยากรพี่เลี้ยง การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี เพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน ส่วนกลางสนับสนุนงบประมาณให้ สบส.เขต จัดอบรมวิทยากรพี่เลี้ยงตำบลจัดการสุขภาพ ทั่วประเทศ จำนวน 990 คน ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพให้บูรณาการการพัฒนาเชื่อมกับเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) และทีมหมอครอบครัว (family care team)

ผลการดำเนินงาน สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข KPI ระดับจังหวัด : ร้อยละ 5 ของจำนวน สปก.ทั้งหมดในแต่ละจังหวัดสามารถเข้าถึง/ได้รับข้อมูลการดำเนินงานของโครงการ สปก. ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข สปก.ปลอดโรคฯ สคร 1 สคร 2 สคร 3 สคร 4 สคร 5 สคร 6 สคร 7 สคร 8 สคร 9 สคร 10 สคร 11 สคร 12 จำนวนเป้าหมาย (แห่ง) 1,361 289 1,144 922 928 1,778 1,133 327 508 1,152 472 502 จำนวน สปก. ที่เข้าถึงข้อมูล 2,048 290 910 399 850 167 317 75 80 220 718 133 คิดเป็น (ร้อยละ) 7.52 5.03 3.98 2.16 4.58 0.47 1.40 1.15 0.79 0.96 7.60 1.32 จำนวนสถานประกอบการทั้งหมด 210,332 แห่ง (เป้าหมาย 10,516 แห่ง) โดยมีการเข้าถึงข้อมูลฯ 6,207 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.95 พัฒนาคู่มือวิทยากรกระบวนการของสปก.ปลอดโรคฯ (Facilitator) พัฒนา เกณฑ์การพัฒนา โครงการ สปก.ปลอดโรคฯ ตรวจประเมิน สปก./วิสาหกิจชุมชุน ปลอดโรคฯ ที่มีระดับคะแนนตั้งแต่ 90% ขึ้นไป จำนวนทั้งหมด 30 แห่ง

Service Plan DM HT สำหรับสถานบริการแต่ละระดับ รายที่ต้องค้นหาสาเหตุ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ค้นหารายใหม่ อายุ 15-34 ปี ,35+ปี GDM , white coat HT รายที่ต้องค้นหาสาเหตุ ปรับพฤติกรรม 3อ 2ส กลุ่มเสี่ยง -กลุ่มป่วยรายบุคคลDPAC กลุ่มผู้ป่วยตามความเสี่ยง ในรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสมเช่น class group และ รายบุคคล ให้คำปรึกษาในรายที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมยุ่งยาก ซับซ้อน รักษา ผป.ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ที่มีภาวะแทรกซ้อน รับ-ส่งต่อจากเครือข่าย ที่มีภาวะแทรกซ้อน/ซับซ้อน รับ-ส่งต่อจากเครือข่าย คัดกรอง ตา Fundus camera Laser Photocoagulation DR ที่มีภาวะแทรกซ้อน คัดกรอง ไต Microalbumin ,eGFR CKD clinic , CAPD , Hemodialysis Hemodialysis บำบัดทดแทนทางไต คัดกรอง เท้า ศูนย์เฝ้าระวังสุขภาพเท้า ศูนย์ป้องกันแผลเบาหวานเท้า ศูนย์ดูแลเท้าครบวงจร ประเมิน CVD Risk คัดกรอง จิต ช่องปาก ผู้ป่วย DM HT ทุกราย

คลินิก NCD คุณภาพ เครือข่ายของคลินิก/คลินิก/ศูนย์ในสถานบริการ ที่เชื่อมโยงในการบริหารจัดการและดำเนินการทางคลินิก ให้เกิดกระบวนการป้องกัน ควบคุม และดูแลจัดการ โรคเรื้อรังแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 1 ทิศทางและนโยบาย 2 ระบบสารสนเทศ 3 การปรับระบบและกระบวนการบริการ 4 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 5 ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง 6 จัดบริการเชื่อมโยงชุมชน ผู้มารับบริการสามารถควบคุม ป้องกันปัจจัยเสี่ยงร่วม/โอกาสเสี่ยงได้หรือดีขึ้น กลุ่มป่วยสามารถควบคุมสภาวะของโรคได้ตามค่าเป้าหมาย (controllable) ลดภาวะแทรกซ้อนของระบบหลอดเลือด ลดการนอนโรงพยาบาลโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า ลดอัตราการเสียชีวิตที่สัมพันธ์โดยตรงจากโรคเรื้อรังในช่วงอายุ 30 - 70 ปี

การขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ 2556 -ทดลองเครื่องมือเชิงปริมาณ 2557 -เริ่มกระบวนการคุณภาพบริการ ในสถานพยาบาล - ประเมินรับรองA/S/M ทุกแห่ง + ร้อยละ 30 F (407 รพ, บางจังหวัด ขอเก็บ รพช < 30%) 2558 -เพิ่ม “บูรณาการจัดการตนเอง” - ประเมินรับรอง รพ ที่ยังไม่ผ่านปี 57 + ร้อยละ 40 F จำนวน รพ. A=33, S=48, M1=91, M2=35, F1-F3=780 (ปี 2557) 2560 ขยับ มาตรฐานการเพิ่มคุณภาพบริการ 2559 -เพิ่ม “บูรณาการ CVD & CKD” -เพิ่มคุณภาพในส่วนของการดูแลในชุมชน (รพ.สต) - ประเมินรับรอง รพ. ที่ไม่ผ่านเมื่อ 58 + ร้อยละ 30 F ผลปี 2558 : รพ.เป้าหมาย 324 แห่ง ผ่านการประเมินรับรอง 311 แห่ง(96.3%)

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ภาพรวมการประเมินบริหารจัดการ ผู้ปฏิบัติงานและผู้ประเมินยังขาดความรู้ ความเข้าใจในความหมายตามเกณฑ์การประเมินที่กำหนด จัดทีมประเมินไขว้แบบโดยมีตัวแทน Case Manager จากโรงพยาบาลของแต่ละจังหวัด มาร่วมทีมประเมิน และมีการทบทวนเกณฑ์ แนวทางการประเมินร่วมกันก่อนลงประเมินจริง ระบบสารสนเทศ มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคและออกแบบบริการ แต่ขาดการมีส่วนร่วมของทีมผู้เกี่ยวข้อง และไม่มีการนำหลักการทางระบาดวิทยาและบริบทของพื้นที่มาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันในทีม เพิ่มการวิเคราะห์ข้อมูลหา GAP ในพื้นที่ เพื่อเชื่อมโยงการจัดบริการของเครือข่าย โดยจัดทำเป็นแนวทางร่วมกัน เพิ่มการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจำแนกผู้ป่วย กลุ่มที่ควบคุมได้ กลุ่มที่ควบคุมไม่ได้ เพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข

การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (Assessment of Cardiovascular Risk) WHO color chart Thai CV risk score ใช้เครื่องมือประเมินทั้งสองแบบทดแทนกันได้ ผู้ทีมีโอกาสเสี่ยงสูงตั้งแต่ 30% ขึ้นไป (สีแดง) ต้องได้รับ Intervention

รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ประเภทและขอบเขตบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค -ผู้ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค CVD หรือ DM หรือ HT และยังไม่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในรอบ 5 ปี -เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ Thai CV Risk Score -สามารถตรวจไขมันโคเลสเตอรอลรวมและไขมัน HDL ทุก 5 ปี เพื่อใช้ประเมินฯ กรณีทราบผลโคเลสเตอรอล กรณีไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด

รูปแบบการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD) จังหวัดที่มีอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด (IHD) 15 จังหวัดแรกใน ปีพ.ศ. 2556 เขต 1 เขต 3 เขต 4 เขต 5 เขต 6 เขต 11 ราชบุรี จันทบุรี แพร่ น่าน นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี อ่างทอง สระบุรี อยุธยา นครนาย ลพบุรี สิงห์บุรี พังงา ชุมพร ในชุมชน ในสถานบริการ การสื่อสาร/รณรงค์ เพื่อสร้างกระแสการป้องกันโรค CVD การสื่อสารเตือนภัยอาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง การสร้างสภาพแวดล้อม เช่น การจัดกิจกรรมและสถานที่ออกกำลังกาย ประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วย DM HT จัดบริการตามความเสี่ยง -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น -ให้การดูแลรักษาด้วยยาตามข้อบ่งชี้ ผู้ป่วย DM HT ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ CVD ร้อยละ 60 กลุ่มเสี่ยงสูง (Score > 30% ได้รับบริการเข้มข้น ร้อยละ 50 กลุ่มเสี่ยงสูง -ควบคุมปัจจัยเสี่ยงได้ -ลดโอกาสเสี่ยงลง

กรอบแนวคิดรูปแบบการดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรังและชะลอความเสื่อม 15 จังหวัดที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วย DM สูง แพร่ เพชรบูรณ์ สุโขทัย อ่างทอง สมุทรสงคราม ตราด สกลนคร อุดรธานี บึงกาฬ มุกดาหาร ยโสธร ภูเก็ต กระบี่ พัทลุง ตรัง ผู้ป่วย DM HT ได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคไต eGFR >60 ml/min ใน รพสต. คลินิก NCD /CKD Clinic ทีมสหวิชาชีพ อายุรแพทย์โรคไต อายุรแพทย์ เฝ้าระวัง ติดตาม และการคัดกรองโรคและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในชุมชน การสร้างความตระหนักในประชากรและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมลดเสี่ยง การจัดการโรคไตเรื้อรังโดยชุมชน ได้รับคำปรึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้รับการดูแลตามมาตรฐานการบริการ ตามระยะของโรค เพื่อชะลอความเสื่อมของไต การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้มีความเข้มแข็ง

M & E ปี 2559 KPI ระดับเขต KPI ระดับจังหวัด Monitor สำนักฯ ติดตามผลลัพธ์ทางสุขภาพ และติดตามผ่านระบบตรวจราชการ Evaluation สำนักฯประเมินผล เชิงปริมาณ/คุณภาพ KPIระดับประเทศ Monitor สคร. ติดตามผลลัพธ์ทางสุขภาพ Evaluation สำนักฯประเมินผล เชิงปริมาณ/คุณภาพ KPI ระดับเขต Monitor จังหวัดติดตามผลลัพธ์ทางสุขภาพ Evaluation สคร. ประเมินผล เชิงปริมาณ/คุณภาพ KPI ระดับจังหวัด

กรอบการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ส่วนกลาง DHS/DC ส่วนกลาง พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลเฝ้าระวัง ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ มาตรการจัดการข้อมูล ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา สคร. อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง Quick Win : ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) จัดตั้ง EOC ช่วงเทศกาล มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย

ตัวชี้วัด : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ผลการดำเนินงาน ปี 2558 ตัวชี้วัด : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เป้าหมาย : ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากรแสนคน (V01-V89) รอบ 9 เดือน รายเขตสุขภาพ (ตุลาคม – มิถุนายน ปีงบประมาณ 57 และ 58) ภาพรวมลดลง 1.59 ต่อประชากรแสนคน 15.57 13.98 แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 2 สิงหาคม 2558 (อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้) หมายเหตุ: ข้อมูลมรณะบัตร ปี 2557 และ 2558 เป็นช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งยังไม่ได้นำไปตรวจสอบกับหนังสือรับรองการตายจากสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน “เด็กจมน้ำ” “อัตราการเสียชีวิต จากการจมน้ำของเด็ก (อายุต่ำกว่า 15 ปี) ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน” เปรียบเทียบจำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุ< 15 ปี) ไตรมาสที่ 1-3 (ต.ค. 57-มิ.ย.58) กับค่าเป้าหมายปี 2558 จำแนกตามเครือข่ายบริการสุขภาพ แหล่งข้อมูล: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วิเคราะห์: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

การดำเนินงานปีงบประมาณ 2559 ตัวชี้วัด อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กแสนคน เป้าหมาย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน < 200 คน < 400 คน < 600 คน < 770 คน มาตรการสำคัญหลัก เป้าหมาย

พื้นที่เสี่ยงมาก (แดง) 40 จังหวัด (ฐานข้อมูลปี พ.ศ. 2557) สระบุรี สิงห์บุรี นครนายก ตราด สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี จันทบุรี กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สุพรรณบุรี ราชบุรี สุรินทร์ นครราชสีมา เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ อุดรธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มุกดาหาร ยโสธร อุบลราชธานี นครพนม สกลนคร พิจิตร อุทัยธานี กำแพงเพชร อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุโขทัย น่าน พะเยา ชุมพร ภูเก็ต พังงา ยะลา พัทลุง และกรุงเทพมหานคร www.facebook.com/thaincd www.thaincd.com หมายเหตุ: ตัวอักษรสีแดงเป็นจังหวัดพื้นที่เสี่ยงมากทั้งปี 56 และ 57 = 22 จังหวัด

ขอบคุณครับ NCD