GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM) ฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม GOOD FARMING MANAGEMENT (GFM)
มาตรา 7 แห่ง พรบ.โรคระบาดสัตว์พ.ศ.2558 From Farms to Table Improvement GAP ภาพรวม GFMs Markets 5 Backyard and small holder farm GFM 2 3 1 management Breed feeding 4 มาตรา 7 แห่ง พรบ.โรคระบาดสัตว์พ.ศ.2558 Impact from many diseases sustainable GFM = Good Farming Pratice = Minimum Biosecurity requirements for farm animals
GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM หลักการ ระบบการป้องกันโรค (Biosecurity) การจัดการสุขภาพสัตว์ การเฝ้าระวังโรค การสร้างภูมิคุ้มกันโรค การถ่ายพยาธิ ฯลฯ ผลผลิต ตรวจสอบย้อนกลับ ป้องกันโรค สวัสดิภาพสัตว์ อาหารสัตว์ สุขอนามัยการจัดการผลผลิต ปริมาณและคุณภาพผลผลิต ทะเบียนฟาร์ม ข้อมูลสัตว์และสุขภาพสัตว์ บุคคลและยานพาหนะ เข้า-ออกสถานที่ GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
ความเชื่อมั่นในความปลอดภัยทางอาหาร GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM ผลที่ได้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และมีอาชีพที่มีความมั่นคง ยั่งยืน ประชาชนได้บริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย ผลผลิต ตรวจสอบย้อนกลับ ป้องกันโรค ลดปัญหาโรคระบาด ลดปัญหาเชื้อดื้อยา ปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้น ความเชื่อมั่นในความปลอดภัยทางอาหาร GOOD FARMING MANAGEMENT : GFM
ยกระดับ ฟาร์มปศุสัตว์ ให้มีระบบป้องกันโรค และการเลี้ยงปศุสัตว์ที่เหมาะสม เพื่อลดความสูญเสียของเกษตรกรจากปัญหาโรคระบาด ผลผลิตดี มีคุณภาพ เตรียมความพร้อมในการพัฒนาเป็นมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตร ที่ดีสำหรับปศุสัตว์ (GAP) วัตถุประสงค์
หลักเกณฑ์การกำหนดขนาดฟาร์มเลี้ยงสัตว์ กลุ่มเป้าหมาย หลักเกณฑ์การกำหนดขนาดฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลำดับ ชนิดสัตว์ GFM รายย่อย ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 1 สัตว์ปีกพื้นเมือง <3,000 ตัว < 100 100 - 200 > 200 2 โคนม <50 ตัว < 20 21 - 50 51 - 100 > 100 3 แพะเนื้อ <100 ตัว 101 - 500 501 - 1,000 > 1,000 4 โคเนื้อ/กระบือ < 30 30 - 100 101 - 200 5 สุกร <500 ตัว < 50 50 - 500 501 - 5,000 > 5,000 6 แกะเนื้อ 7 แพะนม 8 ไก่เนื้อ* <3000 ตัว < 3,000 3,000 - 10,000 10,000 - 50,000 > 50,000 9 ไก่ไข่* <1000 ตัว 10 เป็ดเนื้อ 3,000 - 10,000 GAP 11 เป็ดไข่ 12 นกกระทา <10000 ตัว < 10,000 50,000 - 100,000 > 100,000 หมายเหตุ:: *มาตรฐานบังคับ
กลุ่มเป้าหมาย โครงการ 9101 โครงการทฤษฎีใหม่ ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตร (ศพก.) แปลงใหญ่ โคบาลบูรพา ฟาร์มโคนม โครงการประชารัฐยกระดับมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก ฟาร์มเครือข่ายของ สพพ. /กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์กสส. กลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมาย โครงการ 2561 2562 2563 2564 2565 9101 10% ทฤษฎีใหม่ 50% 10% ทฤษฎีใหม่ 50% 100% ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตร (ศพก.) +ศูนย์ขยาย (882 แห่ง) 100% แปลงใหญ่ 100% โคบาลบูรพา (6,000 ราย) ฟาร์มโคนม 20% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP 40% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP 100% ของฟาร์มที่ไม่ได้ GAP GAP โครงการประชารัฐยกระดับมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปีก 100%ของโครงการ ฟาร์มเครือข่ายของ สพพ. 20%ของฟาร์ม 40%ของฟาร์ม 60%ของฟาร์ม 80%ของฟาร์ม 100%ของฟาร์ม กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ กสส. 20% ของกลุ่ม 40% ของกลุ่ม 60% ของกลุ่ม 80% ของกลุ่ม
ประโยชน์และแรงจูงใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ ลดรายจ่าย จากการรักษาสัตว์ป่วย กรณีเกิดโรคระบาด สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ในขั้นตอนต่อไป โคนม ฟาร์มปลอดโรค นมโรงเรียน GMP ศูนย์รับนม โคเนื้อ ปศุสัตว์ OK แพะ/แกะ สุกร ไก่ การเคลื่อนย้าย ได้รับการพิจารณารับซื้อเข้าโครงการของกรมปศุสัตว์เป็นลำดับต้น สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคผ่านกลุ่มเกษตรกรภายใต้ตราสินค้าท้องถิ่น
เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ ขั้นตอนการดำเนินงาน เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์และเตรียมความพร้อมเกษตรกร กระบวนการรับรอง การตรวจติดตามและประเมินผล องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์และการตลาด
ที่ปรึกษาของเกษตรกร คุณสมบัติ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ หรือบุคคลที่กรมปศุสัตว์มอบหมาย ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่ปรึกษา หรือหลักสูตรผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หน้าที่ ประชาสัมพันธ์ อบรมและให้คำแนะนำ ขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมหลักสูตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือ หลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม หรือ ผู้ที่ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น เตรียมความพร้อม กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ฝึกอบรม
คณะผู้ตรวจประเมิน คุณสมบัติ หัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน : หัวหน้ากลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มพัฒนาคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มพัฒนาเทคโนยีการปศุสัตว์ หรือหัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ผู้ตรวจประเมิน :: เจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดอย่างน้อย 2 คน โดยให้เจ้าหน้าที่ของกลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ทำหน้าที่เป็นเลขานุการ จบการศึกษาขั้นต่ำระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาสัตวแพทย์ หรือสัตวบาล หรือสัตวศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมินฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม จากกรมปศุสัตว์ หน้าที่ ดำเนินการตรวจประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้ให้ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ เดือน สอบสวนข้อเท็จจริง อบรมที่ปรึกษาของเกษตรกร เตรียมความพร้อม กรมปศุสัตว์แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมิน กรมปศุสัตว์อบรมหัวหน้าคณะผู้ตรวจประเมิน หัวหน้ากลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์อบรมผู้ตรวจประเมิน
ผู้ขอรับการรับรอง คุณสมบัติ เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน จากกรมปศุสัตว์ ไม่อยู่ระหว่างการเพิกถอนการรับรอง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือหลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมจากกรมปศุสัตว์ หรือได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร การเตรียมความพร้อม ที่ปรึกษาของเกษตรกรประชาสัมพันธ์ ที่ปรึกษาของเกษตรกรอบรมหริอให้คำแนะนำระบบการป้องกันโรค การจัดการเลี้ยงสัตว์ ที่ปรึกษาของเกษตรกรขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือหลักสูตรฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม หรือผู้ที่ได้รับคำแนะนำจากที่ปรึกษาของเกษตรกร ที่ปรึกษาของเกษตรให้คำปรึกษาและตรวจประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น
ขั้นตอนการขอรับรอง เจ้าหน้าที่ปศอ. 1 ที่ปรึกษาของเกษตรกร ให้คำปรึกษาและประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้น เจ้าหน้าที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารคัดกรอง ขึ้นทะเบียน และส่งให้คณะผู้ตรวจประเมินของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด คณะผู้ตรวจประเมินของสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจประเมินสถานที่เลี้ยง สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด พิจารณาให้การรับรอง .ใบรับรองมีอายุ 2 ปี 2 3 4 สำนักงานปศุสัตว์เขตตรวจติดตามระบบการประเมินสถานที่เลี้ยง ทุกจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง เจ้าหน้าที่ปศอ. ประชาสัมพันธ์ อบรม และให้คำแนะนำ เกษตรกร ในการ เตรียมการด้านต่างๆ เจ้าของสัตว์ ยื่นแบบฟอร์มและ หลักฐานที่สำนักงานปศุ สัตว์อำเภอ ณ ท้องที่ที่ สถานที่เลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่ 5
GFM การขอรับการรับรอง การขอต่ออายุ การตรวจติดตาม การพักใช้/อุทธรณ์ เพิกถอน
เงื่อนไขการตรวจรับรอง พื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง การจัดการโรงเรือน การจัดการยานพาหนะ การจัดการบุคคล การจัดการด้านสุขภาพ การจัดการอาหาร น้ำและยาสัตว์ การจัดการข้อมูล สุขศาสตร์การรีดนมและการจัดการเครื่องรีด คุณภาพน้ำนม
การจัดทำและเก็บข้อมูล กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด จัดทำข้อมูลผู้ขอรับการรับรองที่ได้รับการรับรองใหม่ คงไว้ซึ่งการรับรอง ต่ออายุการรับรอง พักใช้การรับรอง เพิกถอนการรับรอง ยกเลิกการรับรอง หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ ส่งให้สำนักควบคุม ป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ทราบ ตามรูปแบบที่กำหนด
ขอบคุณค่ะ