แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
Project Based Learning
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Hands-on Writing Workshop. O bjectives  เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สู่ ระดับผู้กำหนดนโยบาย ผู้ปฏิบัติทุกระดับ นักวิจัย และประชาชน  เพื่อพัฒนาทักษะด้านการวิจัยให้กับบุคลากร.
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการคิด
การวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสซึ่ม เพื่อส่งเสริมความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษและทักษะชีวิต ของนักเรียนสาขาวิชาการท่องเที่ยว.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ร่าง ปี 2562 (ณ 8 ก.ย. 60) 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
อภิปรัชญา ความเป็นจริงสูงสุดที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัส
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Project based Learning
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน – ปริมาณ – กำไร
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
การยกเลิกใช้งานอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือ
งานสำนักงาน นางสมพร แผ่วจะโปะ โดย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
Hilda  Taba  (ทาบา).
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
PRE 103 Production Technology
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ทฤษฎีการเรียนรู้.
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
การเปลี่ยนแปลงการแสดงผลข้อมูลในระบบการแจ้งเข้า-ออกเรือประมง
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
[ชื่อผู้นำเสนอ] [วันที่]
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy) BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)

สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับถุงใบนี้บ้าง BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 1. แสดงถุงหน้าห้องและอภิปรายร่วมกันดังนี้ สังเกตถุงแล้วสงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับถุงใบนี้บ้าง (มีอะไรอยู่ในถุง) ถ้าอยากรู้ว่ามีอะไรอยู่ในถุงจะทำอย่างไร (เปิดดู) ถ้ายังไม่สามารถเปิดถุงได้ จะทำอย่างไร (สัมผัส ดมกลิ่น เขย่าฟังเสียง) 2. แจกถุง และให้สังเกตแต่ยังไม่ให้เปิดถุง แล้วอภิปรายว่า สังเกตพบอะไร (นุ่ม เขย่าไม่มีเสียง มีกลิ่น) คิดว่าในถุงคืออะไรและรู้ได้อย่างไร (อาจเป็นยางลบ หมากฝรั่ง เยลลี่ เพราะลักษณะคล้ายสิ่งเหล่านี้) 3. ให้เปิดถุงและดูว่าข้างใน และอภิปรายว่า มันคืออะไร (เยลลี่หมี) สิ่งที่พบตรงกับที่ลงความคิดเห็นไว้ว่าหรือไม่ รู้ได้อย่างไรว่าคือสิ่งนั้น (เคยเห็นหรือเคยกิน) กิจกรรมจุดประกาย สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับถุงใบนี้บ้าง ทำอย่างไรจึงจะรู้ สังเกตพบอะไร คิดว่าในถุงคืออะไรและรู้ได้อย่างไร

รู้จักหรือไม่ มันคืออะไร BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 สังเกตเยลลี่หมีและอภิปรายร่วมกันดังนี้ รู้จักหรือไม่ มันคืออะไร (เยลลี่) เยลลี่มีลักษณะเป็นอย่างไร (รูปร่างคล้ายหมี นิ่ม ยืดหยุ่น มีกลิ่น มีสี) เยลลี่มีขนาดเท่ากันหรือไม่ รู้ได้อย่างไร (ขนาดเท่ากัน เพราะวัดเทียบกันแล้วเท่ากัน) สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง (ให้ตั้งคำถามให้มากที่สุด) กิจกรรมจุดประกาย รู้จักหรือไม่ มันคืออะไร เยลลี่มีลักษณะเป็นอย่างไร แต่ละชิ้นมีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร เยลลี่มีขนาดเท่ากันหรือไม่ สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง

ทำไมเยลลี่ถึงนิ่ม หรือ นิ่มเพราะอะไร เยลลี่แต่ละสีรสชาติจะเหมือนกันไหม BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 สังเกตเยลลี่หมีและอภิปรายร่วมกันดังนี้ รู้จักหรือไม่ มันคืออะไร (เยลลี่) เยลลี่มีลักษณะเป็นอย่างไร (รูปร่างคล้ายหมี นิ่ม ยืดหยุ่น มีกลิ่น มีสี) เยลลี่มีขนาดเท่ากันหรือไม่ รู้ได้อย่างไร (ขนาดเท่ากัน เพราะวัดเทียบกันแล้วเท่ากัน) สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง (ให้ตั้งคำถามให้มากที่สุด) กิจกรรมจุดประกาย สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง ทำไมเยลลี่ถึงนิ่ม หรือ นิ่มเพราะอะไร เยลลี่แต่ละสีรสชาติจะเหมือนกันไหม เยลลี่ลอยน้ำได้ไหม เยลลี่ถ้าโดนน้ำแล้วจะเป็นอย่างไร ถ้าอมไว้ในปากแล้วมันจะละลายได้ไหม

สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 สังเกตเยลลี่หมีและอภิปรายร่วมกันดังนี้ รู้จักหรือไม่ มันคืออะไร (เยลลี่) เยลลี่มีลักษณะเป็นอย่างไร (รูปร่างคล้ายหมี นิ่ม ยืดหยุ่น มีกลิ่น มีสี) เยลลี่มีขนาดเท่ากันหรือไม่ รู้ได้อย่างไร (ขนาดเท่ากัน เพราะวัดเทียบกันแล้วเท่ากัน) สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง (ให้ตั้งคำถามให้มากที่สุด) กิจกรรมจุดประกาย สงสัยหรืออยากรู้อะไรเกี่ยวกับเยลลี่บ้าง เยลลี่หมีละลายน้ำได้ไหม เยลลี่หมีจะลอยน้ำหรือจมน้ำ เยลลี่หมีทำมาจากอะไร เยลลี่หมีจะติดไฟไหม เยลลี่หมีจะเปลี่ยนรูปร่างได้ไหม เยลลี่หมีถ้าโดนความร้อนจะละลายไหม เยลลี่หมีถ้าเอาละลายน้ำแล้วสีจะออกมาไหม เยลลี่หมีรสชาติเป็นอย่างไร

ถ้าใส่เยลลี่ลงไปในน้ำ จะเกิดอะไรขึ้น BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 1. อภิปรายร่วมกันดังนี้ ถ้าใส่เยลลี่หมีลงไปในน้ำ คิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (ละลาย) เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น (เพราะเคยกินแล้วละลายในปาก) ถ้าใส่ลงในน้ำที่ร้อนหรือเย็นต่างกัน คิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด (น้ำร้อนอาจทำให้ละลายเร็วขึ้น น้ำเย็นอาจจะละลายช้า เพราะน้ำร้อนช่วยเร่งให้สารละลายในน้ำได้ดีขึ้น) 2. ให้ออกแบบการทดลองและลองทำตามวิธีการที่ออกแบบ พร้อมบันทึกผล จะหาคำตอบได้อย่างไร มีวิธีการหรือขั้นตอนอย่างไร จะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง จะบันทึกผลอย่างไร กิจกรรมจุดประกาย ถ้าใส่เยลลี่ลงไปในน้ำ จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าน้ำร้อนหรือเย็นต่างกัน เยลลี่จะเป็นอย่างไร

กิจกรรมจุดประกาย สิ่งที่คาดคะเน ... BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอสิ่งที่คาดคะเน ถ้าใส่เยลลี่หมีลงไปในน้ำ คิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (ละลาย) เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น (เพราะเคยกินแล้วละลายในปาก) ถ้าใส่ลงในน้ำที่ร้อนหรือเย็นต่างกัน คิดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด (น้ำร้อนอาจทำให้ละลายเร็วขึ้น น้ำเย็นอาจจะละลายช้า เพราะน้ำร้อนช่วยเร่งให้สารละลายในน้ำได้ดีขึ้น) กิจกรรมจุดประกาย สิ่งที่คาดคะเน ...

กิจกรรมจุดประกาย วิธีหาคำตอบ วิธีการหรือขั้นตอนเป็นอย่างไร ... BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอวิธีการหาคำตอบ และวิทยากรนำสรุปวิธีการร่วมกัน ในประเด็นต่อไปนี้ จะหาคำตอบได้อย่างไร มีวิธีการหรือขั้นตอนอย่างไร จะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง จะบันทึกผลอย่างไร กิจกรรมจุดประกาย วิธีหาคำตอบ วิธีการหรือขั้นตอนเป็นอย่างไร ... จะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง จะบันทึกผลอย่างไร

สงสัยหรืออยากรู้อะไรเพิ่มเติม BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 ตัวแทนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลที่พบ อภิปรายร่วมกัน ดังนี้ ค้นพบอะไร และทราบได้อย่างไร ผลที่พบเหมือนหรือแตกต่างจากที่คาดคะเนไว้ คิดว่าเป็นเพราะเหตุใดเยลลี่หมีจึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเช่นนั้น จากสิ่งที่พบ มีความสงสัยหรืออยากรู้อะไรเพิ่มเติมบ้าง กิจกรรมจุดประกาย พบอะไร และทราบได้อย่างไร ผลที่ได้เหมือนหรือแตกต่างจากที่คาดคะเนหรือไม่ อย่างไร สงสัยหรืออยากรู้อะไรเพิ่มเติม คิดว่าเพราะเหตุใดจึงมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้น ได้เรียนรู้อะไร และรู้ได้อย่างไร

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่าจากกิจกรรม เราได้ทำอะไรแบบนักวิทยาศาสตร์บ้าง (เช่น ตั้งคำถาม สังเกต ลงความคิดเห็น อภิปรายถกเถียง ฯลฯ) ให้แต่ละกลุ่มเขียนพฤติกรรมหรือขั้นตอนการเรียนรู้ที่ตนเองได้ทำไป ออกมาเป็นข้อๆ สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย จากกิจกรรมเราได้ทำอะไรแบบนักวิทยาศาสตร์บ้าง (เขียนขั้นตอนและพฤติกรรมที่ได้ทำเป็นข้อๆ)

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่าจากกิจกรรมที่ทำไป เราได้ทำการสืบเสาะหาความรู้หรือไม่ อย่างไร อธิบายความหมายของ การสืบเสาะหาความรู้ ว่าคืออะไร (ตาม slide) และยกตัวอย่างประกอบ เช่น อยากรู้ว่าทำไมสามีกลับบ้านดึกต้องหาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ อยากรู้ว่าอาหารบางอย่างทำอย่างไรต้องหาข้อมูลสูตรหรือวิธีการทำ อธิบายความหมายของ การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (ตาม slide) และยกตัวอย่างประกอบ เช่น มีสิ่งมีชีวิตอื่นนอกโลกอีกไหม มะเร็งเกิดขึ้นได้อย่างไร อภิปรายอีกครั้งว่า จากกิจกรรมที่ได้ทำไป เราสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ อย่างไร สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย เราได้ทำการ “สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry)” หรือไม่ อย่างไร การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry) เป็นวิธีการเรียนรู้ของมนุษย์ (Way of Learning) หาข้อมูลหรือหลักฐานเพื่อตอบข้อสงสัยหรืออธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) เป็นวิธีการที่หลากหลายที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการศึกษาโลกทางกายภาพ และ สร้างคำอธิบายบนพื้นฐานของหลักฐานที่ได้จากการทำงาน วิธีการต่างๆ เช่น ตั้งคำถาม เก็บข้อมูลหลักฐาน โดยการสังเกต สำรวจ ทดลอง สืบค้น สร้างคำอธิบายจากข้อมูลหลักฐาน เชื่อมโยงคำอธิบายกับคำอธิบายของผู้อื่น สื่อสารและอภิปรายให้เหตุผล

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่า เด็กปฐมวัย สามารถสืบเสาะหาความรู้ คล้ายกับที่ผู้ใหญ่หรือนักวิทยาศาสตร์ทำได้หรือไม่ อย่างไร ให้สังเกตภาพต่อไปนี้ สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย เด็กปฐมวัย “สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry)” ได้หรือไม่ อย่างไร

และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 จากภาพ คิดว่าเด็กคนนี้กำลังสืบเสาะหาความรู้หรือไม่ รู้ได้อย่างไรหรือสังเกตจากพฤติกรรมอะไรของเด็ก และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร

และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 จากภาพ คิดว่าเด็กคนนี้กำลังสืบเสาะหาความรู้หรือไม่ รู้ได้อย่างไรหรือสังเกตจากพฤติกรรมอะไรของเด็ก และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร

และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 จากภาพ คิดว่าเด็กคนนี้กำลังสืบเสาะหาความรู้หรือไม่ รู้ได้อย่างไรหรือสังเกตจากพฤติกรรมอะไรของเด็ก และคิดว่าเด็กคนนี้น่าจะกำลังสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับอะไร และทำอย่างไร

Constructivism การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Bruner Dewey Piaget เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม Vygotsky เด็กเรียนรู้จากผู้คนรอบข้าง สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่เด็กอยู่ BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 เด็กปฐมวัยเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม ผู้คนรอบข้าง จากของจริงและจากการลงมือปฏิบัติ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านการสืบเสาะหาความรู้ เด็กปฐมวัย มีธรรมชาติการเรียนรู้คล้ายกับนักวิทยาศาสตร์ และสามารถใช้การสืบเสาะหาความรู้ในการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เด็กๆ สามารถเรียนรู้แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว และพัฒนาทักษะต่างๆ ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ Constructivism การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Bruner เด็กเรียนรู้จากการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้จากของจริง Dewey เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Hands-on)

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่าเราจะสามารถจัดประสบการณ์เรียนรู้ หรือกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนอนุบาลเพื่อให้เด็กได้สืบเสาะหาความรู้เหมือนกับนักวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ อย่างไร สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย เราจะจัดประสบการณ์ให้เด็กได้“สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry)” เหมือนนักวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ อย่างไร

อธิบายขั้นตอนแต่ละขั้นของวัฏจักรการสืบเสาะ BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 ครูสามารถส่งเสริมให้เด็กสืบเสาะหาความรู้ในชั้นเรียนได้โดยการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนของวัฏจักรการสืบเสาะที่ทางโครงบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยได้พัฒนาขึ้น อธิบายขั้นตอนแต่ละขั้นของวัฏจักรการสืบเสาะ อภิปรายว่า จากกิจกรรมที่ผ่านมาผู้สอนได้นำผู้รับการอบรมทำการสืบเสาะหาความรู้ตามขั้นตอนของวัฏจักรการสืบเสาะหรือไม่ อย่างไร ให้ทบทวนพฤติกรรมที่กลุ่มของตนเองได้เขียนเอา และวิเคราะห์ว่าพฤติกรรมใดตรงกับขั้นตอนใดของวัฎจักรการสืบเสาะ แล้ววาดภาพหรือติดสติ๊กเกอร์สัญลักษณ์จากแผนผังไว้ด้านหลังแต่ละข้อ

การมีส่วนร่วมในคำถาม ตั้งคำถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ วิธีการเรียนรู้ของคน วิธีการจัดการเรียนการสอน ลักษณะสำคัญของ การสืบเสาะหาความรู้ (5 Essential Features of Inquiry) วัฏจักรการสืบเสาะ 6 ขั้นตอน (Inquiry Cycle Method) การมีส่วนร่วมในคำถาม ตั้งคำถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ การเก็บข้อมูลหลักฐาน รวบรวมความคิดและข้อสันนิษฐาน ทดสอบและปฏิบัติการสืบเสาะ การอธิบายสิ่งที่พบ สังเกตและบรรยาย บันทึกข้อมูล อภิปรายผล การสื่อสารและให้เหตุผล การเชื่อมโยงสิ่งที่พบกับสิ่งที่ผู้อื่นพบ

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry-based Instruction) จัดให้เด็กได้สืบเสาะหาความรู้ โดยนำลักษณะสำคัญของการสืบเสาะหาความรู้มาเป็นแนวทางในการกำหนดขั้นตอนหรือกระบวนการของการเรียนการสอนในชั้นเรียน Project Approach Montessori 5E Learning Cycle Inquiry Cycle Method High Scope

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่า จากกิจกรรมที่ผ่านมา ได้มีการ Co-construction ในกิจกรรมไหน อย่างไร จากกิจกรรมที่ผ่านมา ได้ให้ผู้เรียนสะท้อนการเรียนรู้ Metacognition หรือไม่ อย่างไร สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย จากกิจกรรมที่ผ่านมา ผู้สอนได้ใช้แนวทาง Co-Construction & Metacognition ในกิจกรรมหรือไม่ อย่างไร

ครูและนักเรียนร่วมวางแผนและออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ด้วยกัน BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 ยกตัวอย่าง กิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นการเรียนรู้แบบ Co-construction เช่น ให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและได้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม กิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นการเรียนรู้แบบ Metacognition เช่น ในช่วงของการคาดคะเนคำตอบ ผู้สอนจะถามความรู้เดิมของผู้เรียนหรือถามเหตุผลจากผู้เรียนว่าทำไมจึงคิดเช่นนั้น หรือ ในช่วงของการอภิปรายผล ผู้สอนจะถามคำถามให้ผู้เรียนบอกสิ่งที่ค้นพบและบอกกระบวนการว่าค้นพบสิ่งนั้นได้อย่างไร Co-construction ครูและนักเรียนร่วมวางแผนและออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ด้วยกัน เด็กเป็นคนออกแบบและตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งเขาอยากเรียนรู้รอบตัว ครูมีหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ครูคอยสนับสนุนความคิดของเด็กให้เกิดขึ้นได้ รวมถึงคอยช่วยเหลือเขาในการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ ในทางปฏิบัติ ครูและเด็กก็เรียนรู้ร่วมกันด้วย Metacognition เด็กตระหนักได้ว่าเขาได้เรียนรู้บางสิ่งบางอย่าง ครูและเด็กจดบันทึกและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสมมติฐาน การสำรวจและการสรุปผลซึ่งกันและกัน กระบวนการนี้จะทำให้เด็กตระหนักว่าเขาได้เรียนรู้ ได้รู้ทั้งสิ่งที่เขาเรียนรู้คืออะไร และกระบวนการที่เขาจะเรียนรู้สิ่งนั้นต้องทำอย่างไร

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่า ครูได้จัดกิจกรรมให้เด็กได้ร่วม Co-construction ในชั้นเรียนหรือไม่ อย่างไร ให้ยกตัวอย่าง เช่น ให้เด็กร่วมแสดงความคิดเห็นออกแบบวางแผนการทำกิจกรรมต่างๆ ครูได้จัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้ Metacognition ในชั้นเรียนหรือไม่ อย่างไร ให้ยกตัวอย่าง เช่น ให้เด็กได้ทบทวนว่าได้ทำอะไรไปบ้าง จากสิ่งที่ได้ทำเด็กได้เรียนรู้อะไร สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย ท่านได้ใช้ Co-construction & Metacognition ในชั้นเรียน หรือไม่อย่างไร

สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 อภิปรายว่าถ้าครูให้เด็กสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้แนวทางตามขั้นตอนของวัฏจักรการสืบเสาะและ Co-costruction & Metacognition เด็กน่าจะได้รับการพัฒนาอย่างไร สะท้อนกระบวนการเรียนรู้จากกิจกรรมจุดประกาย เด็กปฐมวัยจะได้รับอะไรจากการเรียนรู้ตามแนวทางนี้

BVA-ZWH-087-2008xxxx-VMS3-v6 จากกระบวนการเรียนรู้และแนวการเรียนการสอนทั้งหมดนี้ เด็กนักเรียนจะได้พัฒนาทักษะอย่างครอบคลุม ทักษะในการเรียนรู้ ทักษะด้านสังคม ทักษะด้านภาษา เข้าใจถึงปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์และการสำรวจอย่างถ่องแท้ ตระหนักถึงกระบวนการการเรียนรู้(Metacognition) แลกเปลี่ยนไอเดีย ถกเถียงกันถึงสิ่งที่ทำ เคารพกฏกติกา พูดคุยถึงการคาดคะเนคำตอบของคำถาม สืบค้นและอธิบายปรากฏการณ์ แสดงไอเดียของตัวเอง