วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CAI CAI WBI WBI.
Advertisements

หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน 10 คะแนน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
เทคโนโลยีการศึกษายุคอีนำไอ้
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer-Assisted Instruction
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
ADDIE Model.
Tutorial CAI Tutorial จะนำมาใช้ได้ดีในการใน กระบวนการสอน 2 ขั้นตอนแรก คือ นำเสนอสาระ นำเสนอสาระ presenting information ชี้แนะ ชี้แนะguiding.
Virtual Learning Environment
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หลักการออกแบบของ ADDIE model
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
E-learning.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
สื่อประสมทางการศึกษา
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
อย่าติดกับดักการเรียนรู้
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
WWW (World Wide Web) พัฒนาขึ้นมาในช่วงปลายปี 1989 โดยทิม เบอร์เนอร์ ลี นัก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ จาก ห้องปฏิบัติการทางจุลภาคฟิสิกส์แห่ง ยุโรป (European Particle.
การออกแบบอีเลิร์นนิง
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
เทคนิคการสอนยุค IT ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
(Instructional Media)
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
Introduction to Data mining
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
สื่อ การเรียนการสอน โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
Introduction to information System
Database ฐานข้อมูล.
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การใช้ยา.
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การเขียนรายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
Introduction to Structured System Analysis and Design
ADDIE model หลักการออกแบบของ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

นักศึกษาได้อะไร นักศึกษาสามารถอธิบายลักษณะเด่นของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแต่ละประเภทได้ถูกต้อง นักศึกษาสามารถออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้

CAI คืออะไร คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือ สามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก ในอดีตและยังคงพัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

มัลติมีเดีย (Multimedia) CAI คืออะไร มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ผสมผสานรูปแบบการนำเสนอข้อมูลข่าวสารเพื่อก่อให้เกิดการรับรู้ที่หลากหลายต่อกลุ่มเป้าหมาย ทั้งการมองเห็นด้วยข้อความ ภาพ การได้ยินเสียง รวมถึงความสามารถในการโต้ตอบกับสื่อ ปัจจุบันความก้าวหน้าของอินเทอร์เน็ตทำให้สื่อมัลติมีเดียมิได้จำกัดอยู่เพียงการเรียนรู้ด้วยตนเองแบบ Stand Alone แต่มีความสามารถในการติดต่อสื่อสารระว่างผู้สอนกับผู้เรียนหรือระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองได้ ซึ่งกลายเป็นการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเรียน การสอนผ่านเว็บ (web-based Instruction) การเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) คอร์สแวร์ (Courseware) หรือ เลิร์นนิ่งออบเจ๊ก (Learning Object) เป็นต้น

CAI สำคัญอย่างไร

1. สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ CAI สำคัญอย่างไร 1. สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ 2. ดึงดูดความสนใจ โดยใช้เทคนิคการนำเสนอด้วยกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง สวยงามและเหมือนจริง 3. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เร็วด้วยวิธีที่ง่าย 4. ผู้เรียนมีการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือก ตัดสินใจ และได้รับการเสริมแรงจากการได้รับข้อมูลย้อนกลับทันที

CAI สำคัญอย่างไร 5. ช่วยให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรม ด้วยตนเอง ซึ่งจะเรียนรู้ได้จากขั้นตอนที่ง่ายไปหายากตามลำดับ 6. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุ่น สามารถเรียนซ้ำได้ตามที่ต้องการ 7. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง มีการแก้ปัญหา และฝึกคิดอย่างมีเหตุผล 8. สร้างความพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน 9. สามารถรับรู้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้อย่างรวดเร็ว เป็นการ ท้าทายผู้เรียน และเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ

CAI สำคัญอย่างไร 10. ให้ครูมีเวลามากขึ้นที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผู้เรียนคนอื่นที่เรียนก่อน 11. ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจำเป็นที่จะต้องใช้ครูที่มีประสบการณ์สูง หรือเครื่องมือราคาแพง เครื่องมืออันตราย 12. ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถส่งบทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรู้ได้ด้วย

ประเภทของสื่อCAI

ประเภทของสื่อCAI 1. เพื่อการสอน (Tutorial Instruction) วัตถุประสงค์เพื่อการสอนเนื้อหาใหม่แก่ผู้เรียน มีการแบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อย มีคำถามในตอนท้าย ถ้าตอบถูกและผ่าน ก็จะเรียนหน่วยถัดไป โปรแกรมประเภท Tutorial นี้มีผู้สร้างเป็นจำนวนมาก เป็นการนำเสนอโปรแกรมแบบสาขา สามารถสร้างเพื่อสอนได้ทุกวิชา

ประเภทของสื่อCAI 2. ประเภทการฝึกหัด (Drill and Practice) วัตถุประสงค์คือ ฝึกความแม่นยำ หลังจากที่เรียนเนื้อหาจากในห้องเรียนมาแล้ว โปรแกรมจะไม่เสนอเนื้อหา แต่ใช้วิธีสุ่มคำถามที่นำมาจากคลังข้อสอบ มีการเสนอคำถามซ้ำแล้วซ้ำอีกเพื่อวัดความรู้จริง มิใช่การเดา จากนั้นก็จะประเมินผล

ประเภทของสื่อCAI 3. ประเภทสถานการณ์จำลอง (Simulation) เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติกับสถานการณ์จำลอง ที่มีความใกล้เคียงกับเหตุการณ์จริง เพื่อฝึกทักษะและเรียนรู้ โดยไม่ต้องเสี่ยงหรือเสียค่าใช้จ่ายมาก มักเป็นโปรแกรมสาธิต(Demonstration) เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงทักษะที่จำเป็น

ประเภทของสื่อCAI 4. ประเภทเกมการสอน (Instruction Games) ประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน มีการแข่งขัน เราสามารถใช้เกมในการสอน และเป็นสื่อที่ให้ความรู้แก่ผู้เรียนได้ ในแง่ของกระบวนการ ทัศนคติ ตลอดจนทักษะต่างๆ ทั้งยังช่วยเพิ่มบรรยากาศในการเรียนรู้ให้มากขึ้นด้วย

ประเภทของสื่อCAI 5. ประเภทเพื่อการทดสอบ (Test) ประเภทนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสอน แต่เพื่อใช้ประเมินการสอนของครู หรือการเรียนของนักเรียน คอมพิวเตอร์จะประเมินผลในทันที ว่านักเรียนสอบได้หรือสอบตก และจะอยู่ในลำดับที่เท่าไร ได้ผลการสอบกี่เปอร์เซ็นต์

องค์ประกอบของสื่อCAI 1. สารสนเทศ (Information) 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) 3. ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) 4. ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ที่มา: ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2541)

การออกแบบสื่อ CAI ใช้อะไรบ้าง ADDIE Model กระบวนการเรียนการสอนของ Gagne’ 9 ขั้น ทฤษฎีการเรียนรู้

การวิเคราะห์ (Analysis) ADDIE การวิเคราะห์ (Analysis) ผู้เรียน หลักสูตร/เนื้อหา สภาพแวดล้อม/วัฒนธรรม

ADDIE วิเคราะห์ผู้เรียน ความรู้/สติปัญญา อายุ/ระดับชั้น ความต้องการ ความสนใจ เจตคติ วัฒนธรรม

วิเคราะห์หลักสูตร/เนื้อหา ADDIE วิเคราะห์หลักสูตร/เนื้อหา ขอบเขตเนื้อหา วิชาอะไร เนื้อหาบทที่หรือหน่วยที่ต้องการทำสื่อ ความต้องการของหลักสูตร

วิเคราะห์สภาพแวดล้อม/วัฒนธรรม ADDIE วิเคราะห์สภาพแวดล้อม/วัฒนธรรม วัฒนธรรมของสังคม วัฒนธรรมของผู้เรียน

แบบฝึกหัด/แบบประเมิน ออกแบบการเรียนการสอน ADDIE เนื้อหา แบบฝึกหัด/แบบประเมิน DESIGN ออกแบบการเรียนการสอน ออกแบบหน้าจอ

ADDIE DESIGN CONTENT โครงสร้างเนื้อหา คัดเลือกเนื้อหา เรียงลำดับเนื้อหา

DESIGN EVALUATION/TEST ADDIE DESIGN EVALUATION/TEST ข้อสอบก่อนเรียน ข้อสอบหลังเรียน การสร้างแบบฝึกหัด เทคนิคการตั้งคำถาม

ส่วนประกอบของมัลติมีเดีย การควบคุมบทเรียน/ปฏิสัมพันธ์ ADDIE การออกแบบพื้นฐาน DESIGN INTERFACE ส่วนประกอบของมัลติมีเดีย การควบคุมบทเรียน/ปฏิสัมพันธ์

เริ่มงานออกแบบสื่อ CAI ให้นักศึกษาดำเนินการตามขั้นตอนของ ADDIE และออกแบบกระบวนการเรียนการสอนตามหลักการของ Gagne’

การออกแบบเนื้อหา 4 หน่วย/เรื่อง การอนุรักษ์ดิน การออกแบบเนื้อหา 4 หน่วย/เรื่อง การอนุรักษ์ดิน ความหมาย วัตถุประสงค์ ผู้เรียนอธิบายประเภทของดินได้ถูกต้อง ผู้เรียนสามารถบอกวิธีการอนุรักษ์ดินได้อย่างถูกต้อง ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของการอนุรักษ์ดินและนำไปใช้ได้ ประเภทของดิน ความสำคัญของการอนุรักษ์ดิน วิธีการอนุรักษ์ดิน ประโยชน์ของการอนุรักษ์ดิน

การออกแบบเนื้อหา 4 หน่วย/เรื่อง การอนุรักษ์ดิน การออกแบบเนื้อหา 4 หน่วย/เรื่อง การอนุรักษ์ดิน ความหมาย มีกี่ความหมาย ใครเขียนไว้บ้าง สรุปความหมาย ประเภทของดิน มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ใครเขียน สรุป ความสำคัญของการอนุรักษ์ดิน มีความสำคัญอย่างไรบ้าง ใครเขียน สรุป วิธีการอนุรักษ์ดิน มีวิธีใดบ้าง ใครเขียน สรุป ประโยชน์ของการอนุรักษ์ดิน มีประโยชน์อย่างไรบ้าง ใครเขียน สรุป

ความหมายของการอนุรักษ์ดิน หน่วยที่ 1 ความหมาย ความหมายของการอนุรักษ์ดิน แบบทดสอบ/แบบฝึก ตอบคำถาม ไม่ผ่าน ผ่าน หน่วยที่ 2

การออกแบบบทเรียน CAI หน้าแรก หน้าเมนูหลัก ความหมาย - ประเภท ความหมาย - ประเภท ความสำคัญ - วิธีการ ประโยชน์ - แบบทดสอบ -ออกจากโปรแกรม หน้าเมนูหลัก ออกจากโปรแกรม เนื้อหาหน่วยที่ 1 ความหมายของการอนุรักษ์ดิน แบบฝึกหัด ออกจากโปรแกรม เนื้อหาหน่วยที่ 2 ออกจากโปรแกรม เนื้อหาหน่วยที่ 3 ออกจากโปรแกรม/ออกจากบทเรียน

การออกแบบบทเรียน CAI หน้าแรก หน้าเมนูหลัก ความหมาย ประเภท ความสำคัญ ออกจากโปรแกรม ความหมาย ประเภท ความสำคัญ วิธีการ ประโยชน์ แบบทดสอบ แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด ออกจากโปรแกรม แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด แบบฝึกหัด ออกจากโปรแกรม ออกจากโปรแกรม ออกจากโปรแกรม ออกจากโปรแกรม ออกจากโปรแกรม

เข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน storyboard p1 ยินดีต้อนรับ เข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การอนุรักษ์ดิน เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน storyboard p2 ยินดีต้อนรับ เข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การอนุรักษ์ดิน