หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง
ข้อเรียกร้องสู่การปฏิบัติ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนด้วยกัน และการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม จนทำให้ “โลกาภิวัตน์” และ “การเชื่อมโยงกัน” ตระหนักถึงการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันของชาติต่าง ๆ การพัฒนาความสนใจร่วมกันของประเทศสมาชิกทั้งสิบประเทศ การโยงใยซึ่งกันและกันทั้งทางด้านวัฒนธรรม ประชาชน เศรษฐกิจ รัฐบาล และระบบนิเวศ ประเทศสมาชิกสร้างความรู้และทักษะของศตวรรษที่ 21 เช่น การแก้ไขปัญหา การคิดวิเคราะห์ นวัตกรรม การสื่อสารต่างวัฒนธรรม ความร่วมมือ สื่อและความรู้เกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศให้กับนักเรียน
ข้อเรียกร้องสู่การปฏิบัติ (ต่อ) สร้างอนาคตที่ดียิ่งขึ้นของตนเอง ของครอบครัว และของภูมิภาคอาเซียนโดยรวม ช่วยให้ภูมิภาคตระหนักถึงเป้าหมายที่กว้างยิ่งขึ้นของอาเซียน อันได้แก่ การมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง การมีความรับผิดชอบต่อสังคม การมีความเป็นเอกภาพและ การปรองดองกันของอาเซียน เพื่อเป็นอำนาจในการต่อรองในทุกด้าน เพื่อส่งเสริมสภาพชีวิตความเป็นอยู่และสวัสดิการที่ดีของประชาชน สร้างรากฐานที่แข็งแกรงเพื่อความเข้าใจอันดียิ่งขึ้น การเป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน และการแบ่งปันความรับผิดชอบร่วมกัน
ข้อเรียกร้องสู่การปฏิบัติ (ต่อ) เพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชนและการเสริมสร้างความยุติธรรมทางสังคม เคารพในความแตกต่างทางวัฒนธรรม ภาษา ศาสนาของประชาคมอาเซียนและมุ่งเน้นค่านิยมร่วมกันของประชาชน
คู่มือหลักสูตรอาเซียน: แบบแผนเพื่อการตระหนักถึงวิสัยทัศน์ คู่มือหลักสูตรอาเซียน: แบบแผนเพื่อการตระหนักถึงวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายของคู่มือนี้ คือ การทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้น ของกลุ่มนานาประเทศ ทัศนคติ นวัตกรรม ความร่วมมือที่แข็งขัน และความสานึกร่วมกันของประชาชนที่กาลังปรับตัวให้เข้ากับสังคมและเศรษฐกิจโลก ซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การทาเช่นนี้จะช่วย ทำให้บรรลุเป้าหมายที่กว้างขึ้นของอาเซียนได้ดียิ่งขึ้น ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นระหว่างประชาชน ไม่ว่าจะเป็นด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ หรือการเมือง
สำระสำคัญทางหลักสูตร 1. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน โครงสร้าง สมาชิกภาพ ความมุ่งประสงค์ แนวทางปฏิบัติ
2. การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย การสำรวจความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน และมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมและความเชื่อ การตระหนักรู้และชื่นชมในความแข็งแกร่งซึ่งมีอยู่ในความเหมือนของประชาชน 3. การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น การสำรวจประเด็นท้องถิ่นว่าได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาและกระแสของโลก เหตุการณ์ในท้องถิ่นในอาเซียนส่งผลต่อสภาพการณ์ของโลกอย่างไร
4. การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม การปลูกฝังหลักการของความเสมอภาค และความยุติธรรม มอบเครื่องมือและข้อมูลให้ผู้เรียน 5. การทางานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนและมั่นคง การตระหนักถึงความกดดันอันเกิดจากทรัพยากรที่จำกัด การเติบโตของประชากร และผลกระทบต่อความยั่งยืน การสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนทางานร่วมกันภายในชุมชนของตน และนอกชุมชน
แนวทางเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน 1. ประชาชน: รายบุคคล กลุ่มชาติพันธุ์ มรดกทางวัฒนธรรม รัฐบาล และพลเมือง สุขภาพ ความปลอดภัย บทบาททางเพศ และบทบาท ระหว่างชั้น อายุภายในครอบครัว และสังคม 2. สถานที่: ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะภูมิประเทศ ระบบนิเวศ ภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลังธรรมชาติต่าง ๆ
3. สื่อ: สิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น เครื่องอุปโภคบริโภค สิ่งประดิษฐ์ งานหัตถกรรม งานศิลป์ และงานประดิษฐ์ศิลปะโบราณ 4. แนวคิด: ศาสนา ระบบความเชื่อ ปรัชญา ค่านิยม รูปแบบการปกครอง แง่คิดเกี่ยวกับโลก เทคโนโลยี การยอมรับและการปรับตัว
สวัสดี