ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
Advertisements

ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
โดย ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป. ป. ช. ( นายอุทิศ บัวศรี )
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
สุจริตตามรอยพ่อ ขอทำดีเพื่อแผ่นดิน
ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข (ศปท.)
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Office of The National Anti-Corruption Commission
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข (MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร.
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
ITA Integrity and Transparency Assessment
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
รายงานการประเมินตนเอง
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
โดย..นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์
กระบวนการหนังสือราชการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
การบริหารและขับเคลื่อน
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
โดย งานบริหารบุคลากรและค่าตอบแทน
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
ศิลปวัฒนธรรมไทยกับการสร้างเสริมสุขภาพ Aerobic dance into culture
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ของบุคลากรในหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT) กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย

ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรม ตัวชี้วัดที่ 13 ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของบุคลากรในหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย

ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล Internal Integrity and Transparency Assessment ( IIT) Work Integrity Integrity Culture

วิธีการจัดเก็บข้อมูล การสำรวจความคิดเห็น Internal Integrity and Transparency Assessment ( IIT) ประเมินจากความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานภาครัฐ ที่มีต่อ การดำเนินงานบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงในการดำเนินงานของหน่วยงาน แบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ คือ วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) และคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) คำนิยาม วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. หน่วยงานเจ้าภาพหลัก จัดเก็บข้อมูลหน่วยงานที่ร่วมดำเนินการตามรายละเอียดการประเมิน รอบ 5 เดือนแรก 2. หน่วยงานเจ้าภาพประมวลผลและจัดส่งสรุปการรายงานผลในภาพรวมให้หน่วยงานรับทราบ ในรอบ 5 เดือนหลัง

รายละเอียดการประเมิน เกณฑ์การประเมิน 5 เดือนแรก (ต.ค.59– ก.พ.60) พิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานแต่ละระดับ ดังนี้ ระดับ รายละเอียดการประเมิน คะแนน 1 - สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ แจ้งรายชื่อผู้รับผิดชอบและผู้ประสานงาน อย่างน้อย จำนวน 2 คนให้หน่วยงานเจ้าภาพและส่งผู้รับผิดชอบ/ผู้ประสานงานเข้าอบรมเรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 2 ดำเนินการระดับ 1 และ - สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ วางแผนสื่อสาร หรือจัดกิจกรรมสนับสนุนการรับรู้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสให้บุคลากรในหน่วยงานรับทราบ 3 ดำเนินการระดับ 1-2 และ - สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ ดำเนินงานตามแผนดำเนินการตามแผน และแสดงให้เห็นว่าทุกคนในองค์กร รับทราบในเรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) 4 ดำเนินการระดับ 1-3 และ - สำรวจและจัดเก็บแบบประเมินฯ จากบุคลากรในหน่วยงาน ครบตามเป้าหมาย รวมถึงจัดส่งแบบประเมินฯ ให้หน่วยงานเจ้าภาพ ภายในเวลาที่กำหนด ครบทุกคนในหน่วยงาน 5 ดำเนินการระดับ 1-4 และ - สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงานในระบบศูนย์ติดตามผลปฏิบัติงาน กรมอนามัย (DOC) 5 เดือนหลัง (มี.ค.60 – ก.ค.60) ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของบุคลากร ในหน่วยงาน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ร้อยละ 60 ร้อยละ 65 ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80

เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 13 : ร้อยละการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ของบุคลากรในหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย Ex. เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด: ขั้นตอนดำเนินงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด คะแนน 1 กลุ่มงานแจ้งรายชื่อผู้รับผิดชอบและผู้ประสานอย่างน้อย 1 คน ให้กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม และส่งผู้รับผิดชอบเข้าร่วมการประชุม 20 2 ผู้รับผิดชอบสื่อสาร ชี้แจงรายละเอียดหรือจัดกิจกรรมสนับสนุนการรับรู้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสให้บุคลากรในกลุ่มงาน 3 กลุ่มงานดำเนินการตามแผนและแสดงให้เห็นว่าบุคลากรในกลุ่มรับทราบในเรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 4 สำรวจ/จัดเก็บแบบประเมินผลจากบุคลากรในกลุ่มครบตามเป้าหมาย 5 จัดทำสรุปผลการประเมินภาพกลุ่มงานส่งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมพร้อมแบบประเมินที่เก็บจากกลุ่มฯ ทั้งหมด

ตัวชี้วัดที่14 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency Assessment : EBIT)

ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล Evidence Based : EBIT Integrity Culture Transparency

คำนิยาม การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based) โดยประเมินจากข้อมูลเอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ของหน่วยงานบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงในการดำเนินงานของหน่วยงาน แบ่งเป็น 2 องค์ประกอบ คือ - ความโปร่งใส (Transparency) - วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture)

วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. หน่วยงานจัดตั้งคณะกรรมการประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based : EBIT) ของหน่วยงาน (จะต้องมีบุคคลภายนอก/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมเป็นคณะกรรมการอย่างน้อย 1 คน) เพื่อตรวจประเมินแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ฯ และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง 2. หน่วยงานประเมินตนเองเพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานเกิดความโปร่งใสตรวจสอบได้ ตามแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based) ซึ่งมีประเด็นคำถามทั้งหมด 7 ประเด็น หลัก ดังนี้ 2.1 การให้และเปิดเผยข้อมูลในการจัดซื้อจัดจ้าง 2.2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2.3 ความเป็นธรรม/ไม่เลือกปฏิบัติ 2.4 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.5 การเข้าถึงข้อมูลตามภารกิจของหน่วยงาน 2.6 การตอบสนองข้อร้องเรียน 2.7 การต่อต้านการทุจริตในองค์กร

3. จัดส่งหลักฐานอ้างอิงประกอบการตอบแบบประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based) ให้เจ้าภาพ ภายในเวลาที่กำหนด - สำหรับหน่วยงานส่วนกลางให้จัดส่งหลักฐานอ้างอิงให้หน่วยงานเจ้าภาพ (กองการเจ้าหน้าที่) - สำหรับหน่วยงานส่วนภูมิภาคเก็บหลักฐานอ้างอิงไว้ที่หน่วยงาน 4. เจ้าภาพและคณะกรรมการ (ตามที่กรมแต่งตั้ง) มีสิทธิ์เรียกดูเอกสารหลักฐานของหน่วยงานเพิ่มเติมตามความเหมาะสม 5. เจ้าภาพและคณะกรรมการ (ตามที่กรมแต่งตั้ง) อาจมีการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบเอกสารหลักฐานของหน่วยงานเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

เกณฑ์การประเมิน 5 เดือนแรก (ตุลาคม2559 – กุมภาพันธ์ 2560) 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 50.00-54.99 55.00-59.00 60.00-64.99 65.00-69.99 70.00 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 70.00-74.99 75.00-79.99 80.00-84.99 85.00-89.99 90

ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน เกณฑ์การประเมิน คะแนน ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน 80-100 สูงมาก 60-79.99 สูง 40-59.99 ปานกลาง 20-39.99 ต่ำ 0-19.9 ต่ำมาก แบบประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานหน่วยงานเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT ของกรมอนามัย

เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 14 : ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐเฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based : EBIT) Ex. เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด: ขั้นตอนดำเนินงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด คะแนน 1 ผู้รับผิดชอบจากกลุ่มงานเข้าร่วมกิจกรรมการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสภาครัฐ 20 2 กลุ่มงานรับผิดชอบดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานให้เกิดความโปร่งใส 3 จัดทำรายงานผลกระบวนการที่รับผิดชอบที่ได้ดำเนินการแล้ว ส่งกลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม (ส่งกระบวนการพร้อมหลักฐานอ้างอิง) ภายในกำหนดเวลา 4 กลุ่มงานผ่านการดำเนินงานประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในส่วนที่รับผิดชอบที่ระดับคะแนน 60-79.99 คะแนน 5 กลุ่มงานผ่านการดำเนินงานประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในส่วนที่รับผิดชอบที่ระดับคะแนน 80 คะแนนขึ้นไป

กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม กองการเจ้าหน้าที่ โทรศัพท์ : 02 590 4036