การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Advertisements

เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที สาขาเลย
เครือข่ายสังคมออนไลน์
การสื่อสารข้อมูล.
สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน

ส่วนประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล 1. ตัวส่งข้อมูล 2. ช่องทางการส่งสัญญาณ 3. ตัวรับข้อมูล ช่องทางการสื่อสาร เป็นช่องทางที่ใช้ในการส่งสัญญาณ ระหว่างเครื่องผู้ส่งกับเครื่องผู้รับ ตัวส่งและตัวรับข้อมูลอาจเป็นคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์สื่อสารอื่นๆก็ได้

การส่งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่งข้อมูลจากเครื่องส่งหรือผู้ส่ง หมายถึง การส่งข้อมูลจากเครื่องส่งหรือผู้ส่ง ผ่านสื่อกลางไปยังเครื่องรับหรือผู้รับสัญญาณ ที่ใช้ส่ง ได้แก่ สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สัญญาณเสียง หรือแสงก็ได้

ชนิดของการส่งสัญญาณ 1.แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพล็กซ์ (One-way หรือ Simplex) เป็นการส่งข้อมูลในทิศทางเดียว คือข้อมูลถูกส่งไปในทางเดียว เช่นสถานีวิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพ ทางโทรทัศน์ ผู้ส่ง ผู้รับ

ชนิดของการส่งสัญญาณ 2. แบบกึ่งทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ (Half-Duplex) เป็นการส่งข้อมูลแบบสลับการส่งและรับข้อมูลไปมา จะทำในเวลาเดียวกันไม่ได้ เช่นการใช้วิทยุสื่อสาร คือ จะต้องสลับกันพูด เพราะจะต้องกดปุ่มก่อนแล้วจึง สามารถพูดได้ ผู้ส่ง ผู้รับ

ชนิดของการส่งสัญญาณ 3. แบบทางคู่หรือดูเพล็กซ์เต็ม (Two-wayหรือFull-Duplex) เป็นการส่งข้อมูลแบบที่สามารถส่ง และรับข้อมูล ได้พร้อมกันในเวลาเดียวกันซึ่งวิธีนี้ ทำให้การทำงานเร็วขึ้นมากเช่นการพูดโทรศัพท์ ผู้ส่ง ผู้รับ

ช่องทางการส่งสาร แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบมีสายนำสัญญาณ 2. แบบไม่มีสายนำสัญญาณ

แบบมีสายนำสัญญาณ สายทองเเดงเเบบไม่หุ้มฉนวน (unshield Twisted pair ) มีราคาถูก และนิยมใช้กันมากที่สุด ส่วนใหญ่มักใช้กับระบบโทรศัพท์ แต่สายเเบบนี้มักถูกรบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน

แบบมีสายนำสัญญาณ สายทองเเดงเเบบหุ้มฉนวน มีลักษณะเป็นสองเส้น (shielded twisted Pair) มีลักษณะเป็นสองเส้น มีแนวแล้วบิดเป็นเกลียวเข้าด้วยกัน เพื่อลดเสียงรบกวน มีฉนวนหุ้มรอบนอก มีราคาถูก ติดตั้งง่าย น้ำหนักเบา และการรบกวนทางไฟฟ้าต่ำ สายโทรศัพท์จัดเป็นสายคู่บิดเกลียวแบบหุ้มฉนวน

แบบมีสายนำสัญญาณ สาย Coaxial สายแบบนี้จะประกอบด้วยตัวนำ ที่ใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึ่ง อยู่ตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน ระหว่างตัวนำสองเส้นนี้ จะมีฉนวนพลาสติกกั้น สายโคแอคเชียลแบบหนาจะส่งข้อมูล ได้ไกลกว่าแบบบางแต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า

แบบมีสายนำสัญญาณ ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber) ทำจากแก้วหรือพลาสติก มีลักษณะเป็นเส้นบาง ๆ คล้ายเส้นใยแก้วจะทำตัวเป็นสื่อ ในการส่งแสงเลเซอร์ ที่มีความเร็วในการส่งสัญญาณ เท่ากับความเร็วของแสง

แบบไม่มีสายนำสัญญาณ ไมโครเวฟ (Microwave) สัญญาณไมโครเวฟเป็นคลื่นวิทยุ เดินทางเป็นเส้นตรง อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ – ส่ง คือ จานสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งมักจะต้องติดตั้งในที่สูง และมักจะให้อยู่ห่างกันประมาณ 25-30 ไมล์

แบบไม่มีสายนำสัญญาณ ดาวเทียม (Satellite) มีลักษณะการส่งสัญญาณคล้ายไมโครเวฟ แต่ต่างกันตรงที่ ดาวเทียมจะมีสถานี รับ-ส่งสัญญาณลอยอยู่ในอวกาศ จึงไม่มีปัญหาเรื่องส่วนโค้งของผิวโลก เหมือนไมโครเวฟ ดาวเทียมจะทำหน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณ ให้แรงเพิ่มขึ้นก่อนส่งกลับมายังพื้นโลก

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง มาเชื่อมต่อกันเพื่อวัตถุประสงค์คือ เพื่อให้ผู้ใช้ติดต่อสื่อสารกัน เพื่อให้ใช้ทรัพยากรรวมกัน เพื่อใช้ข้อมูลหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน

ความสำคัญและประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. ช่วยการทำงานแบบกลุ่มร่วมงาน(Work Group) เพื่อสนับสนุนการทำงานให้สำเร็จสมบูรณ์รวดเร็ว 2. การใช้อุปกรณ์ต่างๆร่วมกันหมายความว่า ในระบบเครือข่ายเราสามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่ มาแบ่งปันกันใช้งานหรือใช้งานร่วมกันได้ 3. การเก็บข้อมูลไว้ส่วนกลางชุดเดียวแล้วเครื่อง ในระบบเครือข่ายสามารถเอาข้อมูลมาเก็บ ไว้ในส่วนกลางได้ 4. การรับ-ส่งจะหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เป็นการส่งข้อความผ่านเครือข่ายโดยไม่ต้องใช้กระดาษ ข้อความส่งไปจะส่งผ่านตามสายเคเบิล หรือสื่อส่งข้อมูลอื่นไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้รับโดยไม่หล่นหายหรือขาดตกบกพร่อง ไม่ความสะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่าย

ประเภทของระบบเครือข่าย

ประเภทของระบบเครือข่าย เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network :Lan ) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้บริเวณเฉพาะที่ เช่น ภายในอาคารเดียวกัน หรือภายในบริเวณเดียวกัน ระบบ Lan จะช่วยให้มีการติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใช้งานอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน และใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า

ประเภทของระบบเครือข่าย เครือข่ายระดับเมือง ( Metropolitan Area Network : Man ) เป็นเครือข่ายขนาดกลางใช้ภายในเมืองหรือจังหวัด ตัวอย่างเช่น เคเบิลทีวี .เครือข่ายระดับประเทศ ( Wide Area Network : Wan ) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ติดตั้งใช้งานบริเวณกว้าง มีสถานีหรือจุดเชื่อมมากมายและใช้สื่อกลางหลายชนิด ตัวอย่างเช่น ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม

เครือข่ายระหว่างประเทศ ( International Network ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อระหว่างประเทศ โดยใช้สายเคเบิลหรือดาวเทียม

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย มี 4 ลักษณะ คือ 1. แบบดาว ( Star Network ) 2. แบบวงแหวน (Ring Network) 3. แบบบัส (Bus Network) 4. แบบผสม (Hybrid Network)

แบบดาว ( Star Network ) เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ( Host Computer ) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์ หรือเทอร์มินัลตามจุดต่าง ๆ แต่ละจุดเปรียบเทียบ ได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง

แบบวงแหวน (Ring Network) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระหว่างจุด โดยต่อเป็นวงแหวน ซึ่งคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ เป็นศูนย์กลางก็จะรวมอยู่ด้วย การทำงานแต่ละเครื่อง จะทำงานของตนเอง และการเชื่อมโยงจะทำให้ มีการแบ่งงานกันทำ และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

แบบบัส (Bus Network) มีลักษณะคล้ายแบบวงแหวน แต่ไม่ต่อเป็นวงกลม มีสายสื่อสาร 1สาย โดยแต่ละสถานีจะถูกต่อเข้ากับสาย โดยไม่มีตัวใดเป็นตัวควบคุม การส่งข้อมูลระหว่าง 2 สถานี จะทำผ่านทางสายหรือบัสนี้ การต่อแบบนี้ไม่มีตัวศูนย์กลางควบคุม ดังนั้นถ้าหลาย ๆ สถานีต้องการส่งข้อมูล ในเวลาเดียวกันก็จะทำให้เกิดการชนกันของข้อมูลได้

แบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสาน ระหว่างรูปแบบต่าง ๆ หลาย ๆแบบเข้าด้วยกัน คือจะมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ หลาย ๆ เครือข่าย เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน