บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยี 2. วิวัฒนาการของเทคโนโลยี 3. ระดับและการจัดกลุ่มของเทคโนโลยี 4. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับสาขาวิชาอื่น.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การเขียนโครงร่างวิจัย
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
การศึกษาชีววิทยา.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
นางสาวเนตรนภา เอียดสงคราม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
6 รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
5.ไทยต้องจัดตั้งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก article4 – C
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
(Code of Ethics of Teaching Profession)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา 1

ชีววิทยา คืออะไร ?

ชีววิทยา (Biology) มาจากคำภาษากรีก ชีว (bios แปลว่า ชีวิต สิ่งมีชีวิต) วิทยา (logos แปลว่า วิชา ศึกษา ความคิด การมีเหตุผล) คือ การ ศึกษา ความคิดของมนุษย์เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปัญหาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ทำให้เราสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม และดำรงชีวิตอยู่รอดปลอดภัย มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

องค์ประกอบของชีววิทยา ส่วนที่เป็นความรู้ ส่วนที่เป็นกระบวนการค้นหาความรู้

ความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ Scientific Knowledge ข้อเท็จจริง (Fact) คือ ประจักษ์พยามที่สังเกตพบได้โดยตรง มีความเป็นจริงอยู่ในตัวเอง ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงแต่ละอย่างที่รวบรวมมาใช้ในการศึกษาตัวปัญหา กฎ (Law) คือ หลักการที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล ทฤษฎี (Theory) คือ ความรู้ที่ได้มาจากสมมุติฐานที่ผ่านการตรวจสอบมาแล้ว จนเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปใช้อธิบายได้อย่างกว้างขวาง หรือใช้ทำนายเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อีก

การศึกษาวิทยาศาสตร์ การศึกษาวิทยาศาสตร์ คือ การแสวงหาข้อเท็จจริง ใหม่ๆ อันจะทำให้เกิดความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลก และเอกภพทั้งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต

คุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ 4 ประการ คุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร์ 4 ประการ 1. เป็นคนช่างสังเกต 2. มีวิธีการศึกษา 3. ขวนขวายหาข้อเท็จจริงที่ถูกต้องกว่าอยู่เสมอ 4. เป็นคนใจกว้าง

กระบวนการวิทยาศาสตร์ (scientific method) มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสังเกต 2. การตั้งปัญหา 3. การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหา 4. การตั้งสมมติฐาน 5. การตรวจสอบสมมติฐาน หรือ ขั้นการ ทดลอง 6. การบันทึกและแปรผล หรือ การวิเคราะห์ข้อมูล 7. การสรุปผล

การตั้งสมมติฐาน 1. ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องการจะศึกษา 1. ตัวแปรต้น คือ สิ่งที่เราต้องการจะศึกษา 2. ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่เกิดจากตัวแปรต้น 3. ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่เราต้องจัดให้เหมือนกันทั้งหมดใน ชุด ทดลอง

เราได้คำตอบและแก้ปัญหา หรือ แม้แต่การพัฒนาวิวัฒนาการทุกด้านมากมายโดยใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์

การศึกษาเซลล์ ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ ทำให้สามารถเห็นรายละเอียดโครงสร้างของเซลล์ ศึกษาด้วยวิธีแยกชิ้นส่วนของเซลล์โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนำไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของมัน

Light microscope VS. Electron microscope ?

Electron micrographs Scanning electron micrographs (SEM) Transmission electron micrographs (TEM) Scanning electron micrographs (SEM)

คำถาม?

Human Cheek Epithelial Cells Different Types of Light Microscope: A Comparison Brightfield (unstained specimen) Brightfield (stained specimen) Fluorescene Phase-contrast Differential-interference-contrast (Nomarski) Confocal Human Cheek Epithelial Cells

Cell Fractionation วิธีการแยกชิ้นส่วนของเซลล์ทำได้โดยการเหวี่ยงด้วยความเร็วที่ต่างๆกัน organelles ที่แยกออกมาสามารถนำไปศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของมัน