แนวทางการบริหารจัดการ แผนงานและการติดตามและ ประเมินผล โครงการเร่งรัดการดำเนินงาน เพื่อยุติปัญหาเอดส์ นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ 24 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง
กรอบแนวคิดแผนปฏิบัติการเร่งรัดยุติปัญหาเอดส์ การติดเชื้อเอชไอวีใหม่ลดลง การตายจากเอดส์ลดลง การเลือกปฎิบัติลดลง ประชากรเป้าหมาย ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย สาวประเภทสอง พนักงานบริการ ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด เข้าถึงและเชิญชวน Reach & Recruit ตรวจคัดกรอง Test รักษาเร็ว Treat ดูแลต่อเนื่อง Retain พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสุขภาพและระบบชุมชน ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการและสนับสนุน
ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ประเภทและความหมาย ข้อมูลข่าวสารที่ได้แปลผล และนำไปใช้เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจในการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนการดำเนินงาน Know Epidemic เท่าทันการระบาด (Know your epidemic) สถานการณ์และแนวโน้ม ฉลาดรู้การลงทุน (Know your investment)ค่าใช้จ่ายที่กี่ยวกับเอดส์ ติดตามการดำเนินงาน (Know Response) ความครอบคลุมบริการ, การเข้าถึงและใช้บริการ คุณภาพของบริการทั้งด้านการป้องกัน การรักษา การดูแล (NAP, PHIMS , RIHIS,HIV Qual) การประเมินผล และการศึกษาวิจัย Know Response Know Investment Research and Evaluation Data use
10 ตัวชี้วัดหลัก สำหรับติดตามการดำเนินงานเอดส์
RRTTR Single UIC บวก คาดประมาณ สำรวจ/Mapping ประชากรหลัก กรอบการติดตามการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก RETAIN จำนวนประชากรที่มีความเสี่ยงสูง จำนวนที่ระบุได้ว่าอยู่ที่ใด เป้าหมายการดำเนินงาน REACH RECRUIT TEST TREAT ลบ ตรวจHIVซ้ำ คาดประมาณ สำรวจ/Mapping ประชากรหลัก ตั้งเป้าหมายการดำเนินงานร่วมกัน ระบบข้อมูล RIHIS RRTTR Single UIC Neg บวก Positive Gap รอยรั่ว = สิ่งที่ยังไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
การติดตามผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ) กิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด เป้าหมาย Reach จำนวนประชากรหลัก ที่เข้าถึงบริการป้องกัน MSM 36,600 คน FSW 47,700 คน PWID 2,500 คน Recruit ที่เข้าสู่ระบบบริการ ทุกกลุ่มเป้าหมาย 80% ของ Reached Test ที่ได้ตรวจเอชไอวีและรู้ผลการตรวจ MSM 60% ของ Recruited FSW / PWID 70% ของ Recruited Treat จำนวนประชากรหลักที่เริ่มรักษาด้วยยาต้านไวรัส ทุกกลุ่มเป้าหมาย >80% ของผู้ที่ผลบวก ภายในปี Retain 1. จำนวนประชากรหลักที่ติดเชื้อHIVขาดการติดตามการรักษาน้อยกว่า ๙๐ วัน ในแต่ละปี 2.จำนวนประชากรหลักที่มาตรวจHIVซ้ำในปี 1.>80% ของประชากรหลักที่ลงทะเบียนรักษา 2.>50% ของประชากรหลักที่ตรวจHIV
แกนนำ เครือข่ายเพื่อน ตัวชี้วัด Reached คำนิยาม แกนนำ เครือข่ายเพื่อน จนท. เชิงรุก Social media ที่สถานบริการ (1) ข้อมูลเพื่อการป้องกัน HIV, STI และ การลดอันตรายจากการใช้ยา X (2) ถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น และอุปกรณ์ฉีดปลอดเชื้อ (3) ข้อมูลว่าจะรับบริการตรวจHIV, STI และ การรักษาด้วยสารทดแทน เมทาโดน/MMTได้ที่ไหน หรือได้รับการส่งต่อรับบริการตรวจ HIVหรือ STI หรือ การรักษาด้วยMMT (4) ได้ลงทะเบียนรับบริการโดย หมายเลขสมาชิก หรือ UIC
ตัวชี้วัด Recruited คำนิยาม กลุ่มประชากรหลักที่เข้าส่งเข้าสู่ระบบบริการ และ ได้เข้ารับบริการ การปรึกษาการตรวจเอชไอวี (pre-test counseling) โดยอาจตรวจหรือยังไม่ตรวจเอชไอวี หรือ การตรวจคัดกรองและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือ รับบริการเมทาโดน ด้วยวิธีการ ส่งต่อจากผู้ให้บริการเชิงรุก หรือ เครือข่ายเพื่อน หรือร้านขายยา ผ่านสื่อสังคมทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มประชากรเป้าหมายไปที่สถานพยาบาล หรือ ศูนย์บริการชุมชน หรือ หน่วยบริการเคลื่อนที่เอง
ตัวชี้วัด Tested คำนิยาม กลุ่มประชากรหลักที่ได้ตรวจเอชไอวีและได้รับแจ้งผลการตรวจ โดยอาจได้รับบริการที่ 1. หน่วยบริการภาครัฐ ได้แก่ 1.1 รพศ. รพท. รพช. (สธ.) 1.2 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลขนาดใหญ่ภาครัฐ (นอก สธ.) 1.3 รพ.สต. หรือศูนย์บริการสาธารณสุขของ กทม./เทศบาล 2. หน่วยบริการเอกชน ได้แก่ โรงพยาบาลหรือคลินิกเอกชน 3. หน่วยบริการภาคประชาสังคมได้แก่ ศูนย์บริการชุมชน 4. หน่วยบริการเคลื่อนที่ จัดโดยภาครัฐ เอกชน หรือภาคประชาสังคม
การรายงานผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ) ตัวชี้วัดที่จังหวัดและรพ การรายงานผลการดำเนินงาน(เชิงปริมาณ) ตัวชี้วัดที่จังหวัดและรพ.ที่มีการดำเนินงาน รายงาน 1. จำนวนจังหวัดที่มีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานยุติปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด โดย ส่งแผนปฏิบัติการ ไปที่ ศบ.จอ./สอวพ. 2. จำนวนคน แต่ละกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการ RRT จำนวนคนแต่ละกลุ่มประชากรหลักเข้าถึงบริการป้องกันเชิงรุก จำนวนคนแต่ละกลุ่มประชากรหลักที่ได้รับบริการ STI จำนวนคนแต่ละกลุ่มประชากรหลักที่ได้รับบริการ MMT จำนวนคนแต่ละกลุ่มประชากรหลักที่ได้ตรวจเอชไอวีและรู้ผล โดย รายงานผ่านระบบข้อมูล RIHIS 10
แหล่งข้อมูลที่ตอบผลการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก แหล่งข้อมูล Reach แบบบันทึกบริการป้องกันเชิงรุก RIHIS-outreach Recruit แบบบันทึกบริการ RIHIS- facility HCT, STI ที่สถานบริการ หรือหน่วยบริการเคลื่อนที่ Test แบบบันทึกบริการRIHIS- facility (RIHIS-HCT ) ที่สถานบริการ หรือหน่วยบริการเคลื่อนที่ บันทึก Treat / Retain 1.NAP plus 2. NAPHA Extension (สำหรับสิทธิบัตรประกันสุขภาพประชากรข้ามชาติ)
RIHIS Routinely Integrated HIV Information System ระบบข้อมูลเพื่อการติดตามการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก ระบบข้อมูลบริการที่บูรณาการ การป้องกันและดูแลรักษาเอชไอวี (RIHIS) ในกลุ่มประชากรหลัก(KP:Key Population) RIHIS Routinely Integrated HIV Information System
ข้อมูลที่บันทึกการให้บริการที่ทำประจำ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ หลักการ RIHIS ความชุกการติดเชื้อฯ คุณภาพบริการ ความครอบคลุม การเข้าถึงบริการ บริการเชิงรุกในชุมชน บริการในสถานบริการสุขภาพ DIC สถานพยาบาล
ระบบข้อมูลการติดตามงานการดำเนินงานฯในกลุ่มประชากรหลัก (RIHIS –KPs) บันทึกและรายงาน จากหน่วยบริการ ข้อมูลจากงานชุมชน ข้อมูลจากสถานพยาบาล Reach Recruit Test Treat Retain NAP+ ระบบข้อมูล RIHIS-KPs on line/web 28
การบันทึกข้อมูลRIHIS หน่วยงานที่ให้บริการเชิงรุก : บันทึกข้อมูลบริการเชิงรุก RIHIS outreach สถานพยาบาลที่ให้บริการตรวจเอชไอวีทุกแห่ง รพ.ภาครัฐ- เอกชน/ คลินิกชุมชน:DIC / Mobile บันทึกข้อมูลบริการ RIHIS Facility (RIHIS –HCT) 3. เครื่องมือ ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล และรายงาน แบบบันทึก และรายงาน ที่ทำโดยโปรแกรม Excel ประมวลข้อมูล อัตโนมัติ และ จัดส่งรายงาน on web 4. ข้อมูลรายงานเป็นตัวเลขรวม (aggregate) ถูกนำเสนอในระบบรายงาน ที่เข้าถึงได้ (web site-online) ผู้ให้บริการในสถานพยาบล ทุกหน่วยงานที่ได้บันทึกข้อมูล สสจ. สคร. ระดับประเทศ (ศบจอ. สอวพ.) ได้เห็นข้อมูล เชื่อมโยงการบริการเชิงรุก (R-R) กับการบริการสุขภาพ (R-T-T-R) โดยใช้รหัสบุคคล UIC
การใช้ประโยชน์จากข้อมูล-รายงาน RIHIS หน่วยบริการในพื้นที่/ผู้ปฏิบัติงาน รพ. ใช้ประโยชน์จากข้อมูลรายงานที่จัดเก็บในระบบ RIHIS ในการติดตามความ ก้าวหน้าการดำเนินงานในกลุ่มประชากรหลัก สะท้อนให้เห็นภาพรวมการให้บริการ ตรวจเอชไอวี บรรลุเป้าหมาย? เป็นไปตามทิศทางที่ต้องการ ? หาช่องว่างของแผนงาน เพื่อปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทั้งมิติของกลุ่มเป้าหมาย และพื้นที่ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เอดส์ฯ ระดับพื้นที่
ยังไม่มีแหล่งข้อมูลอื่นที่บอกผลการดำเนินงาน ที่สำคัญได้ครบ ยังไม่มีแหล่งข้อมูลอื่นที่บอกผลการดำเนินงาน ที่สำคัญได้ครบ.. ถ้าไม่ทำระบบข้อมูล RIHIS ข้อมูลผลการติดตามงาน จากระบบข้อมูล RIHIS บอกอะไร ?? - รู้ว่า ให้บริการไปได้มากน้อยเท่าไร กลุ่มประชากรหลัก KP ที่ได้เข้าถึงการตรวจเลือด HCTและรู้ผลเลือดตัวเอง * จำแนก รายกลุ่มประชากรและกลุ่มย่อยประชากร บอกอายุ - เพศ MSM -/ TG -/ FSW -/ MSW - / PWID - / Migrant -/ Prisoner * รู้ข้อมูลเป็นจำนวนคน จำแนกเป็นคนใหม่ คนใหม่ในปี คนเก่า * ดูแนวโน้มของการเข้าถึงการตรวจ รายไตรมาส รายปี จำแนกรายหน่วยบริการ - รู้ว่า KP คนนั้นเคยได้รับบริการเชิงรุกมาก่อนหรือไม่ หรือได้รับการส่งต่อมาจาก NGO หรือไม่ คนที่ส่งต่อมาจากNGO มีมากน้อย เท่าไร - รู้ช่องว่างในการให้บริการปรึกษา * ทำให้กลุ่ม KP ตัดสินใจตรวจ มาฟังผลเลือด ??
โครงสร้าง องค์ประกอบของระบบข้อมูล RIHIS ส่วนที่ 1 การบันทึกข้อมูล ส่วนที่ 2 การรายงานผล และระบบการเตือน เพื่อตรวจสอบข้อมูล ส่วนที่ 3 การส่งรายงานเข้าสู่ระบบonline ส่วนที่ 4 การนำเสนอผลการดำเนินงาน - รูปแบบการรายงานผล ส่วนที่ 5 ระบบติดตามการรายงาน (สสจ. สคร . ประเทศ ) ระบบประมวลรายงานอัตโนมัติ
การบันทึกข้อมูล RIHIS โดย หน่วยที่ให้บริการ โครงสร้าง และลักษณะของข้อมูลที่บันทึก 1.ข้อมูลหน่วยบริการ รหัส- ชื่อหน่วยบริการ ที่ตั้ง 2.ข้อมูลทั่วไปของกปม.ที่มารับบริการ ชื่อ นามสกุล วันเดือนปี เกิด = UIC (รพ. เพิ่ม HN เลขบัตรประชาชน) 3.ข้อมูลลักษณะทางประชากร สัญชาติ เพศ เพศสภาวะกปม. อายุ อาชีพ 4.บริการที่ได้รับ การเข้าถึงระบบบริการ (มาครั้งแรก /เก่า /ใหม่ ) บริการที่ได้รับข้อมูลความรู้ ถุงยาง , HCT รู้ผลการตรวจ 5.ระบบการส่งต่อ ส่งต่อมาจากไหน >>ส่งต่อไปรับบริการ?? 1. แบบบันทึก และรายงาน ใช้โปรแกรม Excel 2. Key เป็นตัวเลข 0 ,1 , 2 ถ้าเป็น ข้อมูลที่ประมวลได้ในตารางจะขึ้นให้อัตโนมัติ ไม่ต้องkeyใหม่ 3.Key ข้อมูลลงในแบบบันทึก จะออกรายงาน (report) อัตโนมัติ 4.ส่งรายงานระบบonline-web
รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS-Out reach บริการเชิงรุก จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ 1. จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงบริการป้องกัน 2.1) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ใช้บริการที่ศูนย์บริการชุมชน (DIC)* 2.2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงโดย Social Media (Chat, Line, Facebook, etc.) 3. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ HIV 3.1) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยัง โรงพยาบาล/คลินิก ภาครัฐ 3.2) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยัง โรงพยาบาล/คลินิก ภาคเอกชน 3.3) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังหน่วยบริการเคลื่อนที่ (Mobile Clinic) 3.4) จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังศูนย์บริการชุมชน (DIC) 4. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ STI 5. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อตรวจ TB 6. จำนวนประชากรเป้าหมายที่ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล เพื่อรักษา Methadone 7. จำนวนประชากรเป้าหมายที่เข้าถึงบริการป้องกัน รายบุคคล แต่ละบริการ จำแนก ตามประเภท การมารับบริการ สถานะผู้รับบริการ คนใหม่ (คน) ครั้งที่ 1 คนใหม่ในปีนี้ (คน) ครั้งที่ 1 คนเก่า (คน) ครั้งที่ 2 คนเก่าซ้ำ (ครั้ง) 2 ครั้งขึ้นไป ครั้ง กลุ่มประชากร ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย MSM - TG พนักงานบริการ ชาย -หญิง ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด แรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง คู่ของประชากรหลัก เชื้อชาติ พม่า ลาว กัมพูชา อื่นๆ รวม อายุ <15 ปี 15-19 ปี 20-24 ปี >=25 ปี รวม อาชีพแรงงานข้ามชาติ ประมง ประมงต่อเนื่อง โรงงาน ก่อสร้าง พนักงานบริการ อื่นๆ รวม
รายละเอียดการจำแนกข้อมูล ในรายงานRIHIS-Facility (HCT) แต่ละบริการ จำแนก ตามประเภท ผู้มารับบริการ สถานะผู้รับบริการ จำนวนผู้รับบริการในแต่ละบริการ 1. ได้รับการปรึกษาก่อนตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 2. ได้รับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 3. ที่ได้ตรวจเอชไอวีและรู้ผลการตรวจ 4. ส่งต่อรับบริการคัดกรอง ตรวจ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น บวก 6. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น บวก ได้รับการตรวจ CD4 7. คนที่มีผลเลือดบวกที่ไม่ได้มาฟังผลเลือด 8. ผลการติดเชื้อเอชไอวีเป็น ลบ ได้รับการนัดตรวจเลือดซ้ำ มากกว่า 1 ครั้งในปี คนใหม่ ไม่เคยเลยในชีวิต (คน) คนใหม่ในปีนี้ (คน) คนเก่า (ครั้ง) ช่องทางการมารับบริการ ส่งต่อมา มาเอง จำแนกตามกลุ่มประชากร ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) สาวประเภทสอง (TG) พนักงานบริการ พนักงานบริการชาย (MSW) สาวประเภทสอง (TGSW) Thai <15 ปี 15-19 ปี 20-24ปี >=25 ปี รวม Non*Thai <15 ปี 15-19 ปี 20-24ปี >=25 ปี รวม ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ชาย-หญิง แรงงานข้ามชาติ ชาย-หญิง พม่า ลาว กัมพูชา อื่นๆ รวม คู่ชองกลุ่มประชากรหลัก
AZP สสจ /อนุกก.เอดส์จ. / PCM CSO Hospitals การส่งรายงานและการไหลเวียนข้อมูล In the cloud AZP คช.ปอ. สอวพ. ศบ.จอ. สปสช. สคร./สปสช.เขต สสจ /อนุกก.เอดส์จ. / PCM RIHIS online In the cloud CSO Hospitals RIHIS STI-HTC–ART (NAP+) OUT REACH Electronic database Coordinating line Report and feed back Aggregated data accessible
Unique Identifier Code (UIC) ประชากรไทย (THAI) หลักที่ 1 พยัญชนะตัวแรกของชื่อ (อักษรภาษาไทย ไม่นับสระ) หลักที่ 2 พยัญชนะตัวแรกของนามสกุล (อักษรภาษาไทย ไม่นับสระ) หลักที่ 3 และ 4 ตัวเลขวันที่เกิด 2 หลัก (01-31) ถ้าไม่รู้วันที่เกิด จะใส่รหัส โดยขึ้นต้นด้วย 4 และตามด้วยวันในสัปดาห์ คือ 41 : วันอาทิตย์ 42 : จันทร์ …. 46 : ศุกร์ 47 : วันเสาร์ หลักที่ 5 และ 6 ตัวเลขเดือนที่เกิด 2 หลัก (01-12) หลักที่ 7 และ 8 ตัวเลขสองตัวสุดท้ายของ ปี พ.ศ.เกิด ประชากรข้ามชาติ (Non-THAI) หลักที่ 1 อักษรตัวแรกของชื่อ 1 หลัก (ภาษาอังกฤษ) หลักที่ 2 อักษรตัวแรกของนามสกุล 1 หลัก (ภาษาอังกฤษ)
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการฯจังหวัด แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อยุติปัญหาเอดส์จังหวัด กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การใช้ข้อมูลเป็นฐานในการคิดกิจกรรม ลักษณะของแผนที่ต้องการ ให้เกิด กำหนด เป้าหมายการดำเนินงาน R R T ในแต่ละกลุ่ม ประชากร กำหนด พื้นที่ /รพ. ที่จะดำเนินการในแต่ละกลุ่มประชากร กำหนด กิจกรรมที่จะต้องดำเนินการเพื่อให้กปม. เข้าถึง บริการ RRTTR แผนยุทธศาสตร์ ยุติปัญหาเอดส์จังหวัด
รายงาน .. แผนปฏิบัติการฯจังหวัด จังหวัด............. ส่งภายใน สิ้นเดือนธันวาคม 2558 1. กำหนดเป้าหมาย และพื้นที่ การดำเนินงาน กลุ่มประชากร เป้าหมาย Package พื้นที่ที่ดำเนินการ จำนวนกี่รพ./กี่อำเภอ ผู้ดำเนินการเชิงรุก NGO?? กรอบเวลา 2. แผนปฏิบัติการ การดำเนินงานขับเคลื่อนฯ กิจกรรมหลัก รายละเอียดกิจกรรม แต่ละกลุ่มประชากร พื้นที่ไหน งบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ 1 Reach 2 Recruit 3 Test 4 จัดระบบข้อมูล RIHIS 5 การบริหารจัดการโครงการ 6 การติดตามงาน แผนยุทธศาสตร์ ยุติปัญหาเอดส์จังหวัด
บทบาท รพ. สสจ. สคร ในการดำเนินงาน บทบาท รพ. สสจ. สคร ในการดำเนินงาน วางแผนปฏิบัติการการดำเนินงานเพื่อจัดบริการร่วมกับหน่วยงานต่างๆตั้งเป้าหมาย พื้นที่ ทำ mapping ร่วมกับเครือข่าย เพื่อทราบ กลุ่มเป้าหมาย และวางแผนบริการ จัดบริการเชิงรุก และสนับสนุนหน่วยงาน NGO จัดบริการ HCT ,STI ,MMT จัดระบบการส่งต่อระหว่างงานเชิงรุกและ รพ.เพื่อเชื่อมโยงงาน RRTTR บันทึก บริการ และรายงานผล การดำเนินงานผ่านระบบข้อมูล RIHIS สคร สสจ. รพ. 1. ประสานเครือข่ายเพื่อกำหนดเป้าหมาย พื้นที่ การดำเนินงาน 2. ร่วมวางแผนปฏิบัติการการดำเนินงาน เพื่อ จัดบริการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ 3. ร่วมดำเนินการ Mapping 4. จัดอบรม สนับสนุนการจัดระบบข้อมูล RIHIS ให้กับรพ. และหน่วยบริการเชิงรุก อาจดำเนินการร่วมกับสคร. 5. ติดตามความก้าวหน้า การดำเนินงาน - จากรายงาน - จากการลงพื้นที่ 6. จัดส่ง แผนฯให้ส่วนกลาง 7. เสนอแผน -ผลการดำเนินงาน ให้กับ อนุกรรมการเอดส์จังหวัด หรือPCM 1.สนับสนุน และร่วมวางแผนการดำเนินงาน และแผนยุทธศาสตร์เอดส์จังหวัด 2.สนับสนุน การทำ Mapping 3. จัดอบรมและสนับสนุนการจัดทำระบบข้อมูล RIHIS ให้กับรพ. และหน่วยบริการเชิงรุก 4. ติดตามความก้าวหน้า -จากรายงาน -จากการลงพื้นที่ 5. ร่วมกับส่วนกลางในการ coaching พื้นที่ 6. นำเสนอผลการดำเนินงานให้กบ RAC
Q&A