ไทยแลนด์ 4.0…การปรับตัวก้าวสู่การเปลี่ยนแปลง โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้า และอุตสาหกรรมไทย ณ ห้อง ฟาเรนไฮ ชั้น 3 โรงแรมฮิป ถนนรัชดาภิเษก วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560
เปรียบเทียบยุคการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย กับการปฏิวัติทางเทคโนโลยีของโลก (1) ปี ยุคการปฏิวัติเทคโนโลยีของโลก ยุคการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางเศรษฐกิจของประเทศ 1 1780-1869 Steam-Hydro Power - Taylorism Economy เศรษฐกิจยุคการใช้เครื่องจักรกลไอน้ำและน้ำในอุตสาหกรรมทำให้เกิดการผลิตแบบสายพาน และการคมนาคมขนส่งทางไกลข้ามทวีป (Taylorism Production) 1932-1941 Agriculture & Primary Good Value Base เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากสินค้าเกษตรกรรมและการผลิตสินค้าขั้นต้น (หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองถึงเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2) www.tanitsorat.com
เปรียบเทียบยุคการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย กับการปฏิวัติทางเทคโนโลยีของโลก (2) ปี ยุคการปฏิวัติเทคโนโลยีของโลก ยุคการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางเศรษฐกิจของประเทศ 2 1870-1969 Fossil-Electric-Cable Power เศรษฐกิจยุคพลังงานฟอสซิลและพลังงานไฟฟ้าในอุตสาหกรรมแบบประหยัดจากขนาด – การผลิตเพื่อการส่งออก และการสื่อสารด้วยสาย (Mass Production) 1945-1982 Light Industries & Export Oriented Start up ยุคอุตสาหกรรมเบาและเริ่มต้นเป็นประเทศส่งออก ต่างชาติเริ่มใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต เริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 (2504-2509) www.tanitsorat.com
เปรียบเทียบยุคการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย กับการปฏิวัติทางเทคโนโลยีของโลก (3) ปี ยุคการปฏิวัติเทคโนโลยีของโลก ยุคการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางเศรษฐกิจของประเทศ 3 1970-2015 Computerize-Information Technology-Smart Phone Power เศรษฐกิจยุคการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต-เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรศัพท์อัจฉริยะ ทั้งด้านอุตสาหกรรม การค้าและชีวิตประจำวัน (Lean Production) 1983-2016 Regional Export Base ยุคส่งออกขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยอานิสงส์จาก “Eastern Seaboard” (ปี 2526 ภายใต้แผนศสช.ฉบับที่ 5 ปี 2525-2529) ลงทุนในอุตสาหกรรมต้นน้ำ และเป็นจุดหมายปลายทางของการลงทุน (FDI) ของภูมิภาค เป็นประเทศส่งออกในลำดับที่ 21 ของโลก (2558) แต่ในช่วงทศวรรษสุดท้ายขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง www.tanitsorat.com
เปรียบเทียบยุคการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย กับการปฏิวัติทางเทคโนโลยีของโลก (4) ปี ยุคการปฏิวัติเทคโนโลยีของโลก ยุคการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางเศรษฐกิจของประเทศ 4 2015 -2036 Digital–Nano/Bio Technology –Automation Power เศรษฐกิจยุคดิจิทัล นาโน/ไบโอเทคและระบบปฏิบัติการอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรม-ธุรกรรมการค้า สังคมดิจิทัลเป็นผู้กำหนดอุปสงค์ใหม่ (Cyber – Autonomous Production) 2017-2037 Thailand 4.0 National Agenda การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้วยอุตสาหกรรมซึ่งมีคุณค่าและนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อยกระดับเป็นประเทศมีรายได้สูง (ในปี 2579) www.tanitsorat.com
อุตสาหกรรมแห่งอนาคต : New Engine Industries (1) อุตสาหกรรมซึ่งยังคงมีศักยภาพพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ (First S-curve Industries) เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้วและสามารถเพิ่มเทคโนโลยีและศักยภาพ ประกอบด้วย 1 อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive) 2 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) 3 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) 4 เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economic) 5 อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารสำหรับอนาคต (Food for the Future) www.tanitsorat.com
อุตสาหกรรมแห่งอนาคต : New Engine Industries (2) อุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต (New S-curve Industries) เป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีนโยบายขับเคลื่อนเป็นอุตสาหกรรมซึ่งมีมูลค่าเพิ่มใช้พื้นที่ไม่มากเป็นอุตสาหกรรมใช้ทุนเข้มข้น (Capital Intensive) ใช้แรงงานไม่มาก ประกอบด้วย 1 อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics Industries) 2 อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics) 3 อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) 4 อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital Industries) 5 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Industries) www.tanitsorat.com
เศรษฐกิจไทย 2560 ประชากร (31 ธ.ค. 2559 กรมการปกครอง) มูลค่าเศรษฐกิจ (ปี2016 : IMF) รายได้เฉลี่ยต่อประชากร / GNI GDP ขยายตัวปี 2560 65.931 ล้านคน 390,542 ล้านเหรียญสหรัฐ (13.690 ล้านล้านบาท) 5,924.2 เหรียญสหรัฐ/คน 3.4-4.0% นิติบุคคลจดทะเบียน (มี.ค. 60) บริษัทจำกัด หจก. / หสน. บริษัทมหาชน 6.59 แสนราย 4.77 แสนราย (72.4%) 1.8 แสนราย (27.32%) 1.165 ราย (0.0176%) แรงงานมีงานทำ (มี.ค. 60) อัตราการว่างงาน 37.46 ล้านคน 1.3% www.tanitsorat.com
สถานภาพของอุตสาหกรรมส่งออกไทย (ปี2559) อุตสาหกรรม 2.0 – 2.5 มีสัดส่วนร้อยละ 80 ยุคของอุตสาหกรรม จำนวนเชิงปริมาณ มูลค่า เฉลี่ยมูลค่าต่อคลัสเตอร์ (ล้านบาท) ฐานคุณค่า (Value Base) คลัสเตอร์ คิดเป็นสัดส่วน % ล้านบาท ไม่สามารถระบุยุค - 145,907.14 2.20 อุตสาหกรรม 2.0-2.5 83 79.82 4,195,737.41 63.33 50,559.0 ต่ำกว่าระดับ3.0 = 1.4 เท่า อุตสาหกรรม 3.0 16 15.38 1,136,388.88 17.14 71,024.25 ต่ำกว่าระดับ3.5 = 5.2 เท่า อุตสาหกรรม 3.5 3 2.88 1,115,227.85 16.82 371,742.60 สูง อุตสาหกรรม 4.0 2 1.92 35,757.78 0.54 17,878.50 รวม 104 6,629,019.09 ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์ จากข้อมูลปฐมภูมิกระทรวงพาณิชย์ www.tanitsorat.com
โครงสร้างแรงงานของประเทศไทย (มีนาคม 2560) (ผู้มีงานทำ 37.46 ล้านคน) www.tanitsorat.com
โครงสร้างอายุแรงงาน อายุระหว่าง 40 ปีขึ้นไปมีสัดส่วน 50 โครงสร้างอายุแรงงาน อายุระหว่าง 40 ปีขึ้นไปมีสัดส่วน 50.5% มีความเสี่ยงต่อการปรับตัว กลุ่ม อายุ ความเสี่ยง สัดส่วนร้อยละ จำนวน (ประมาณ) 1 20-29 ปี น้อย 21.1% 7.9 ล้านคน 2 30-39 ปี ต้องปรับตัว 25.4% 9.51ล้านคน 3 40-49 ปี เสี่ยง 25.1% 9.40 ล้านคน 4 50-59 ปี เสี่ยงมาก 17.7% 6.63 ล้านคน 5 60 ปีขึ้นไป 7.7% 2.88 ล้านคน ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์ จากข้อมูลปฐมภูมิสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ www.tanitsorat.com
โครงสร้างแรงงานไทยการศึกษาน้อย ระดับประถมศึกษาและต่ำกว่า สัดส่วน 46 โครงสร้างแรงงานไทยการศึกษาน้อย ระดับประถมศึกษาและต่ำกว่า สัดส่วน 46.0% การเข้าสู่ยุค 4.0 เป็นความท้าทายต่อการปรับตัว ระดับการศึกษา จำนวน (ล้านคน) สัดส่วน % ไม่มีการศึกษา 1.171 3.13% อุดมศึกษา ตำกว่าประถมศึกษา 7.596 20.31% สายวิชาการ 5.105 13.66% ประถมศึกษา 8.421 22.56% สายวิชาชีพ 2.019 5.40% มัธยมต้น 5.993 16.02% สายการศึกษา 0.742 1.98% มัธยมปลาย สามัญ 4.692 12.54% การศึกษาอื่นๆ 0.094 0.25% มัธยมปลาย อาชีวะ 1.375 3.67% ไม่ทราบ 0.180 0.48% มัธยมปลาย การศึกษา 0.005 - 8.140 21.77% หมายเหตุจำนวนผู้มีงานทำ 37.393 ล้านคน ไตรมาส 2/2560 ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ www.tanitsorat.com
โจทย์แรงงานบริบทใหม่ของเทคโนโลยี 4.0 อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นจะอยู่ตรงไหนและการจ้างงานจะเป็นอย่างไร การย้ายฐานการผลิตจะมีความเข้มข้นเพียงใด เทคโนโลยีชาญฉลาดและอัจฉริยะจะมีผลต่อการลดจำนวนแรงงานหรือไม่ แบบจำลองการใช้เทคโนโลยีของประเทศที่พัฒนาแล้วผลกระทบต่อการจ้างงาน การย้ายฐานการผลิตประเทศที่พัฒนาแล้ว กรณีศึกษาการลงทุนในต่างประเทศของญี่ปุ่น อัตราการว่างงานของประเทศพัฒนาแล้ว www.tanitsorat.com
อัตราการว่างงานของประเทศซึ่งมีรายได้สูง รายงานของ ILO (2017) ระบุว่าเทคโนโลยีจะสามารถทดแทนคนได้ร้อยละ 44 ประเทศ อัตราการว่างงาน % ประเทศพัฒนาแล้ว (เฉลี่ย) 6.3 ประเทศกลุ่มเอเชียแปซิฟิก (เฉลี่ย) 4.2 สหรัฐอเมริกา (ก.พ. 60) 4.7 อังกฤษ 4.7 - 4.8 ออสเตรเลีย 5.9 เยอรมนี 6.2-6.3 ฝรั่งเศส 10.0 ญี่ปุ่น 3.1 - 3.4 เกาหลีใต้ 4.1 ไต้หวัน 3.95 สิงคโปร์ 3.4 www.tanitsorat.com
อนาคตของภาคอุตสาหกรรมไทยจะไปทางไหน ภาคการผลิตและการส่งออก ซึ่งเคยเป็นจุดแข็งของประเทศกำลังเผชิญกับการลดน้อยถอยลงของขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งจากทรัพยากรธรรมชาติที่ลดน้อย, ข้อจำกัดด้านแรงงาน การเข้ามาของการเข้าสู่อุตสาหกรรมยุคที่ 4 เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยีแห่งอนาคตและรูปแบบธุรกรรมการค้าใหม่ที่ต่างไปจากอดีตซึ่งสอดคล้องภายใต้นโยบาย “ไทยแลนด์ 4.0” อุตสาหกรรมไทยอยู่ในช่วงรอยต่อ ของข้อจำกัดของศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันที่ลดน้อยถอยลง New Business Model การแข่งขันด้วยค่าจ้างที่ต่ำและการผลิตที่เป็น “Mass Production” และกำลังจะผ่านออกไปจากประเทศไทยและอาจไม่ใช่ทางเดินอีกต่อไป เทคโนโลยีและนวัตกรรมซึ่งเป็นแนวโน้มของทศวรรษหน้า จะมีผลอย่างไรต่อการแข่งขัน โดยธุรกรรมการค้าในรูปแบบเดิมๆกำลังจะเปลี่ยนไปผลที่ตามมามี 2 ทางเลือก คือ ประการแรก : ใช้วิกฤตให้เป็นโอกาส ประการที่สอง : การเปลี่ยนแปลงที่จะมาเป็นภัยคุกคาม www.tanitsorat.com
การก้าวผ่านสู่ไทยแลนด์ 4.0 1. การปรับเปลี่ยนช่วงรอยต่อควรมีการประเมินถึงผลกระทบ 2. มาตรการของภาครัฐในการรองรับผลกระทบจากเทคโนโลยีใหม่ 3. การส่งเสริมสนับสนุนอุตสาหกรรมใหม่ที่อยู่ใน Super Cluster หรือ New Engine Industries อาจไม่ใช่ทางเลือกเดียว 4. อุตสาหกรรมใหม่ต้องขับเคลื่อนทุกภาคส่วน อุตสาหกรรม – การค้า - บริการ 5. กลุ่มเอสเอ็มอีมีข้อจำกัดในการเข้าถึงโอกาส 6. อุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้นจะอยู่ตรงไหน 7.ไทยแลนด์ 4.0 ต้องส่งเสริมทุกภาคส่วน ราชการ – ธุรกิจ – แรงงาน – การศึกษา - สังคม www.tanitsorat.com
แรงงานกลุ่มเสี่ยงจากเทคโนโลยี 4.0 1.ธุรกิจซึ่งมีศักยภาพต่ำและไม่สามารถเข้าถึงโอกาสการเปลี่ยนแปลง 2. กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งใช้แรงงานเป็นหลักขาดนวัตกรรมและเทคโนโลยี อาจแข่งขันได้ยาก 3. กลุ่มอุตสาหกรรม ซึ่งมีแนวโน้ม ย้ายฐานการผลิต 4. กลุ่มแรงงานไร้ทักษะการศึกษาค่ำ 5. กลุ่มแรงงานสูงอายุ www.tanitsorat.com
อาชีพกลุ่มเสี่ยงจากเทคโนโลยี 4.0 ลำดับ อาชีพ ภัยคุกคาม 1 พนักงานขายปลีกหน้าร้าน, ในห้างโมเดิร์นเทรดต่างๆ และพนักงานขายตรง จะถูกแทนที่ด้วยอี-คอมเมิร์ซ 2 งานบริการกลุ่มเสี่ยง เช่น พนักงานโรงแรม, ร้านอาหาร, รปภ., ช่างกลึง-ช่างเชื่อมโลหะ จะถูกทดแทนด้วยหุ่นยนต์และระบบคอมพิวเตอร์อัจฉริยะในการรับจองห้องพัก-การลงทะเบียนและต้อนรับ 3 พนักงานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันทางการเงิน จะถูกแทนที่ด้วย ระบบ ATM และกำลังเข้าสู่ E-Banking –Fintech และพร้อมเพย์ (Prompt-Pay) 4 แรงงานในอุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้นยุค 2.0-2.5 และไม่สามารถแข่งขันได้ จะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์อัตโนมัติซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาทำงานได้หลากหลาย เช่น งานพ่นสี, งานประกอบชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 5 แรงงานในภาคโลจิสติกส์ จะถูกแทนที่ด้วย รถยกสินค้าแบบอัตโนมัติไร้คนขับ, หุ่นยนต์คัดแยก-บรรจุสินค้า, หุ่นยนต์จัดเรียงสินค้า 6 ธุรกิจสื่อ-สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ / Social Media 7 คนขับรถทั้งรถยนต์และรถบรรทุก จะเป็นเชิงพาณิชย์จะถูกแทนที่ด้วยรถยนต์ไร้คนขับ 8 Counter Service ในภาคธุรกิจต่างๆ เช่น สนามบิน แอร์ไลน์ ขายตั๋วต่างๆ จะถูกแทนที่ด้วย IoT และ E-money www.tanitsorat.com
HRD. 4.0 ในภาคธุรกิจ การแยกแยะกลุ่มคนออกเป็นกลุ่มเพื่อการพัฒนา Mentor & Coach กลุ่มคนที่มีศักยภาพเป็น HR 3.0 หรือระดับ 3.5 ซึ่งพร้อมจะเดินหน้าร่วมกับฝ่ายจัดการ อาจมีได้ไม่เกินร้อยละ 4-5 ของพนักงานในองค์กร Up Skill / Attitude Plus กลุ่มคนซึ่งมีทัศนะคติทางบวกจัดอยู่ในกลุ่มคนประเภท HR 2.0-3.0 พร้อมให้ความร่วมมือแต่ยังขาดศักยภาพ เป็นกลุ่มทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญอาจเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 12-15 ของคนในองค์กร Refresh Skill กลุ่มคนที่ต้องเสริมทักษะเป็นกลุ่มที่ไม่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจแต่ขาดศักยภาพจัดเป็นกลุ่มคนประเภท 2.0-2.5 อาจเป็นแรงงานได้ในทุกระดับ ส่วนใหญ่เป็นคนที่ทำงานมานานไม่ใช่คนใฝ่รู้ Low Productivity & Inactive Group เป็นกลุ่มแรงงานที่ไม่พร้อม ผลิตภาพแรงงานต่ำเป็นพวกเฉื่อยชาต่อการเปลี่ยนแปลง แยกออกเป็น 2 กลุ่มคือ - กลุ่ม Retraining - กลุ่ม Retreat www.tanitsorat.com
โมเดลธุรกิจรับมือกับการแข่งขันรูปแบบใหม่ (New Business Model) Smart organization การยกระดับองค์กรอัจฉริยะ เชื่อมโยงเทคโนโลยีชั้นสูง 1 กระบวนการเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ (Innovation & Technology Access) 2 การพัฒนาเพื่อให้ได้มาซึ่งทักษะ (Skill Acquisition & Skill Set) เกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน 3 การออกแบบโซ่อุปทาน 4.0 รองรับการผลิตที่ซับซ้อน (Cyber Lean Production) 4 New Demand 4.0 โมเดลธุรกิจใหม่ต้องสอดรับกับพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปภายในสังคมดิจิทัล 5 www.tanitsorat.com
องค์ประกอบ การพัฒนาธุรกิจ สู่อุตสาหกรรม 4.0 องค์ประกอบของการปรับตัวของผู้ประกอบการ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4.0 ในภาคธุรกิจ 2. Business Competence Analysis ประเมินขีดความสามารถธุรกิจ ผลิตภัณฑ์-ตลาด-แข่งขัน-คน (อยู่ในขอบหรือตกขอบ) 1. Vision of Entrepreneur 4.0 วิสัยทัศน์ของผู้ประกอบการ- หุ้นส่วนธุรกิจ-ผู้บริหาร New Business Model กำหนดรูปแบบธุรกิจซึ่งพร้อมรับมือ กับการแข่งขันรูปแบบใหม่ 7. องค์ประกอบ การพัฒนาธุรกิจ สู่อุตสาหกรรม 4.0 Target & Direction กำหนดเป้าหมายและทิศทาง การพัฒนา 3. 6. Reform & Change การเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปทั้งองค์กร Business Strategy 4.0 Design ออกแบบเป็นยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมใหม่ 4. People Transform การเตรียมพร้อมคนเพื่อก้าวผ่าน สู่เศรษฐกิจแห่งอนาคต 5. www.tanitsorat.com
END www.tanitsorat.com