คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 3: ขั้นการออกแบบ (Design)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การทำ Normalization 14/11/61.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ “ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis)”
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
Workshop Introduction
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ADDIE model หลักการออกแบบของ
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 3: ขั้นการออกแบบ (Design) รายวิชา IS 204420 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ หน่วยที่ 3: ขั้นการออกแบบ (Design) 3.4 การจัดทำแบบทดสอบ

3.4 การจัดทำแบบทดสอบ 3.4.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล 3.4 การจัดทำแบบทดสอบ 3.4.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล 3.4.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.4.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.4.4 ประเภทของแบบทดสอบ 3.4.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ 3.4.6 การสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบ

3.4.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล 3.4.1 วัตถุประสงค์ของการวัดผล เพื่อให้รู้ระดับความรู้ ความสามารถ และค่านิยมของบุคคล วัตถุประสงค์สำคัญของ ISD คือการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน การปฏิบัติงาน และการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ

3.4.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Tests) 3.4.2 ประเภทของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement Tests) 1) Criterion - referenced Tests - CRTs 2) Norm - referenced Tests - NRTs

1) Criterion - referenced Tests - CRTs Criterion - referenced test อาจเรียกว่า Content - referenced test หรือ Objective - referenced test เป็นแบบทดสอบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัดความรู้ความสามารถ ของผู้เรียนกับระดับความรู้ความสามารถที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน คะแนนที่ได้รับจาก CRT บอกให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้ความ สามารถสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่

1) Criterion - referenced Tests - CRTs ต่อ หมายความว่าผู้เรียนมีความรู้ดี หรือมีความสามารถที่จะดำเนิน กิจกรรมที่กำหนด CRT ใช้ในการวัดประสิทธิภาพสื่อการสอน ดังนั้น ในกรณีที่ ผู้เรียนจำนวนมากได้คะแนนใน CRT ไม่อยู่ในระดับ ที่ถือว่าประสบความสำเร็จ อาจหมายความว่าสื่อการสอนที่ผลิต มีข้อบกพร่อง ต้องปรับปรุงแก้ไขใหม่

2) Norm - referenced Tests - NRTs เป็นแบบทดสอบที่ได้รับการออกแบบเพื่อวัดความรู้ความ สามารถของผู้เรียนคนหนึ่งว่ามีความสัมพันธ์กับระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียนคนอื่นๆ ในกลุ่มอย่างไร วัตถุประสงค์หลักของ NRT คือการคัดเลือกผู้มีความรู้ความ สามารถสูงสุดในบรรดาผู้ที่ได้รับการทดสอบในคราวเดียวกัน คะแนนใน NRT ไม่ได้ให้ข้อมูลว่าผู้เรียนมีความรู้ความ สามารถในเนื้อหาหรือกิจกรรมตามมาตรฐานในระดับใด

3.4.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.4.3 รูปแบบการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1) การประเมินผลก่อนการเรียน (Pre - assessments) 2) การประเมินผลระหว่างเรียน (Embedded Items) 3) การประเมินผลหลังการเรียน (Post - assessments)

3.4.4 ประเภทของแบบทดสอบ 1) แบบทดสอบความรู้ (Cognitive Tests) 3.4.4 ประเภทของแบบทดสอบ 1) แบบทดสอบความรู้ (Cognitive Tests) 2) แบบทดสอบความสามารถ (Performance Tests)

1) แบบทดสอบความรู้ (Cognitive Tests) ใช้เมื่อต้องการวัดว่าผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การวัดความรู้สามารถวัดได้โดยการให้ผู้เรียนแก้ปัญหา หรือนำกฎไปปรับใช้ หรือวัดตามระดับของพุทธิพิสัย ลักษณะของแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ได้แก่ multiple choice, true - false, fill - in, matching, short answer, essay

2) แบบทดสอบความสามารถ (Performance Tests) ใช้เมื่อต้องการวัดว่าผู้เรียนมีความสามารถในการปฏิบัติ กิจกรรมหนึ่ง ๆ การวัด Performance อาจดูได้จาก Procedures (Process) Products และ Portfolios ถ้า OUTPUT ใน INPUT/ACTION/OUTPUT Diagram เป็นกระบวนการหรือวิธีการ แบบทดสอบต้องวัดในเรื่องของ กระบวนการ ถ้า OUTPUT เป็นผลงาน การทดสอบอาจใช้วิธีการ เปรียบเทียบกับผลงานที่เป็นมาตรฐาน

3.4.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ 3.4.5 คุณสมบัติของแบบทดสอบ 1) มีความตรง (Validity) 2) มีความเที่ยง (Reliability)

ความตรงและความเที่ยงของแบบทดสอบ ความตรง (Validity) หมายถึงแบบทดสอบนั้นวัดสิ่งที่ ต้องการจะวัด ที่สำคัญคือ ความตรงของเนื้อหา (Content Validity) แบบทดสอบไม่ควรวัดสิ่งที่ไม่ เกี่ยวข้อง ความเที่ยง (Reliability) หมายถึงความคงที่ของแบบ ทดสอบ เมื่อใช้วัดผู้เรียนกลุ่มเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง แบบทดสอบที่ดีต้องมีคุณสมบัติ 2 ประการคือ ความ ตรง (Validity) และความเที่ยง (Reliability)

ความตรงและความเที่ยงของแบบทดสอบ ต่อ ความตรงและความเที่ยงของแบบทดสอบ ต่อ วิธีการเพิ่มความเที่ยงของแบบทดสอบทำได้โดยการ ถามคำถามเดียวกันในลักษณะต่าง ๆ ผู้เรียนที่ตอบคำถามหลาย ๆ ข้อที่ถามในเรื่องเดียวกันได้ ถูกต้องเป็นจำนวนหลายข้อ อาจหมายความว่าผู้เรียนนั้น มีความรู้ดีกว่าผู้ตอบถูกเพียงข้อเดียวหรือ 2 ข้อ

3.4.6 การสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบ 3.4.6 การสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบ 1) Task / Objective / Criterion Charts 2) Table of Specification 3) Error Matrices

1) การเขียน Task / Objective / Criterion Chart Task หมายถึงงานที่กำหนดใน Task Inventory Objective หมายถึงวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนอยู่ ในรูป TPO/EO Criterion หมายถึงข้อกำหนดที่ระบุให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม ตามที่กำหนดไว้ใน Objective ข้อมูลใน Task / Objective / Criterion Chart จะถูก นำไปใช้ในการสร้างและวิเคราะห์แบบทดสอบต่อไป

ตัวอย่าง : Task / Objective / Criterion Chart (TPO/EO) - ซื้อเครื่องปรุง เมื่อให้ชื่อปลา 4 ชนิดที่แตกต่างกัน ในบรรดาชื่อปลา 4 อาจารย์ชาวต่างชาติใน มทส. สามารถ ชื่อ ได้แก่ ปลาช่อน เลือกชื่อ “ปลากราย” ว่าเป็นปลาที่ดีที่สุด ปลากราย ปลาดุก สำหรับใช้ทำทอดมันปลา และปลากะพง อาจารย์ ชาวต่างชาติ ใน มทส. สามารถ ระบุชื่อปลากรายว่า เป็นปลาที่ดีที่สุดใน การทำทอดมันปลา

2) การเขียน Table of Specifications วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้รับการประเมินทุกข้อ วัตถุประสงค์แต่ละข้อควรประเมินในลักษณะใด วัตถุประสงค์แต่ละข้อควรใช้แบบทดสอบชนิดใด ข้อมูลที่ระบุในตารางนำมาจาก Task / Objective / Criterion Chart

ระดับพิสัยการเรียนรู้ ตัวอย่าง : Table of Specifications ระดับพิสัยการเรียนรู้ Sub Tasks/ Sub-Sub Tasks รวม ประเภทแบบทดสอบ ความ เข้าใจ การนำ ไปใช้ การ วิเคราะห์ การ สังเคราะห์ ความจำ 1. เครื่องออกกำลังกายแบบคาดิโอ (Cardiovascular Exercise) 1.1 ลู่วิ่ง (Treadmill) 1.1.1 ประโยชน์ 1 1 True / False 1.1.2 วิธีการใช้ 1 1 2 Multiple Choice 1.1.3 การเซตโปรแกรม 1) การเซตน้ำหนักตัว 1 1 1 3 Matching / Fill-in 2) การเซตอายุ 1 1 1 3 Matching / Fill-in 3) การเซตเวลาวิ่ง 1 1 1 3 Matching / Fill-in 4) การปรับค่าความชัน 1 1 1 3 Matching / Fill-in รวม 6 5 4 15

ตัวอย่างแบบทดสอบ คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ภาพนี้ เป็นภาพของอาหารในหมู่ใด ก. คาร์โบไฮเดรท ข. เกลือแร่ ค. ไขมัน ง. โปรตีน

คำสั่ง จงเรียงลำดับขั้นตอนการปรุงน้ำพริกเผาเห็ดหอมโดย คำสั่ง จงเรียงลำดับขั้นตอนการปรุงน้ำพริกเผาเห็ดหอมโดย ใส่หมายเลข 1-14 ลงหน้าช่องว่างที่เว้นไว้ให้ .......... ใส่พริกแห้งเม็ดใหญ่ .......... จุดเตา .......... คั่วส่วนผสมในกระทะ .......... ปิดเตา .......... ตั้งกระทะ ..........ใส่เกลือ .......... ใส่ขาเห็ดหอมที่ปั่นแล้ว ..........ใส่ซอสถั่วเหลือง .......... ใส่น้ำตาลปี๊บ ..........ใส่น้ำมะขามเปียก .......... ใส่ดอกเห็ดหอมที่หั่นแล้ว ..........คั่วให้เข้ากัน .......... ใส่โปรตีนเกษตรที่ปั่นละเอียด ..........ใส่พริกขี้หนูป่น

คำสั่ง จงนำหมายเลขใต้ภาพแก้วใส่ลงในช่องว่าง ชื่อแก้วให้ถูกต้อง คำสั่ง จงนำหมายเลขใต้ภาพแก้วใส่ลงในช่องว่าง ชื่อแก้วให้ถูกต้อง .......... แก้วไวน์แดง .......... แก้วไวน์ขาว .......... แก้วบรั่นดี .......... แก้วค๊อกเทล .......... แก้วแชมเปญ

ตัวอย่าง : Checklist เนื้อหา พอใช้ ดี ดีมาก เนื้อหา พอใช้ ดี ดีมาก 1. หั่นถั่วฝักยาวเป็นชิ้นเล็ก ๆ 2. ซอยใบมะกรูดเป็นฝอย 3. นวดเนื้อปลาขูดกับเครื่องแกง เข้าด้วยกัน 4. ปั้นส่วนผสมเป็นรูปกลม และบีบให้แบนเล็กน้อย 5. ระบุชิ้นทอดมันที่สุกแล้ว

ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัย การเรียนรู้แต่ละประเภท ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ OBJECTIVE True False C Efficient for items with only two logical responses Completion C Natural for brief Responses Multiple-Choice C Use when answer is long, reduces effect of guessing, so can have fewer items Matching C Efficient but not for higher level learning tasks

ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัย การเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ ESSAY Essay C Score systematically Extended Report C Clarify required components ACTIVITY Lab Reports C Type of learning used for depends on content and structure Exercises C, P Separate use for testing from use for instruction Projects C, P, A Good for interactive domain learning

ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัย การเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ OBSERVATION Checklists P, A Excellent for procedural knowledge and practice Rating Scales P, A Self or observational, degrees of subjectivity Anecdotes A Subjective (self-report) Interviews A Revealing, can have degree of objectivity

ประเภทของแบบทดสอบที่เหมาะสมกับพิสัย การเรียนรู้แต่ละประเภท ต่อ ประเภทของแบบทดสอบ พิสัย หมายเหตุ การเรียนรู้ APPLICATION Problem Solving C, A For higher level of learning Product C, P, A Especially for interactive domain learning C = Cognitive (พุทธิพิสัย) A = Affective (จิตพิสัย) P = Psychomotor (ทักษพิสัย)

3) การเขียน Error Matrices เพื่อบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่ผู้เรียนไม่ผ่าน ในแบบทดสอบ เพื่อให้ทราบข้อมูลว่าผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ตามที่ต้องการหรือไม่ หรือผู้เรียนมีปัญหาอะไร เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงบทเรียนที่พัฒนาขึ้น

ตัวอย่าง : An Error Matrix ชื่อผู้เรียน/เลขข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 รวม พีรยุทธ 6 ธนพันธ์ 1 สุรศักดิ์ 1 วชิรา 1 รัตนากร 4 จิรายุ 1 รวม 2 2 1 6 1 1 1 0 0 14 X X X X X X X X X X X X X X