การออกแบบระบบไฟฟ้า Power System Design ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ธนาคารออมสิน.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ไฟฟ้า.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Material requirements planning (MRP) systems
การคำนวณโหลด Load Calculation
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง กำหนดระยะห่างที่ตั้งโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม และขนาดกำลังการผลิตติดตั้ง สำหรับผู้ประกอบกิจการผลิตไฟฟ้าพลังงานลม.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ไฟฟ้า.
โดย นายอัษฎาวุธ วัยเจริญ แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
1.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
การประมาณโหลดไฟฟ้าเบื้องต้น Electrical Load Estimation
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
โครงการประหยัดพลังงาน ฝ่ายการพยาบาล 2559
ขดลวดพยุงสายยาง.
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบระบบไฟฟ้า Power System Design ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์

ระบบไฟฟ้าที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน

มาตรฐานระดับแรงดันไฟฟ้า

ระบบไฟฟ้าต่างๆ ที่ส่งจ่ายไปยังผู้ใช้ไฟ ระบบ 1 เฟส 2 สาย - โดยมากใช้ส่งจ่ายให้กับที่อยู่อาศัยขนาดเล็กๆ และใช้กับเขตที่ไม่ใช่เขตชุมชน ระบบ 1 เฟส 3 สาย - โดยมากใช้สำหรับระบบไฟแสงสว่างของถนน ระบบ 3 เฟส 4 สาย - ระบบไฟฟ้าสำหรับโรงงานที่มีเครื่องจักรมาก อาคารพาณิชย์ หรืออาคารที่ทำการ

ระบบจำหน่ายไฟฟ้าในประเทศไทย ระบบจำหน่ายในประเทศไทย ดำเนินการโดยรัฐวิสาหกิจ 2 แห่ง 1. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) – กทม., นนทบุรี, สมุทรปราการ 2. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) – จังหวัดอื่นๆ ที่เหลือ

การไฟฟ้านครหลวง จำหน่ายกำลังไฟฟ้าในระดับแรงดันไฟฟ้า ดังนี้ ระดับแรงสูง (3 เฟส) – 12 kV หรือ 24 kV ระดับแรงต่ำ (3 เฟส 4 สาย) – 416 / 240 V (มาตรฐานอเมริกา) หมายเหตุ - การคำนวนโหลดหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า จะใช้แรงดัน 380/220 V - การคำนวนเกี่ยบกับหม้อแปลงด้านแรงต่ำ จะใช้แรงดัน 416/240 V ด้านแรงสูง จะใช้แรงดัน 24 kV

ระบบจำหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำหน่ายกำลังไฟฟ้าในระดับแรงดันไฟฟ้า ดังนี้ ระดับแรงสูง (3 เฟส) – 22 kV หรือ 33 kV ระดับแรงต่ำ (3 เฟส 4 สาย) – 400 / 230 V (มาตรฐานยุโรป) หมายเหตุ - การคำนวนโหลดหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า จะใช้แรงดัน 400/230 V - การคำนวนเกี่ยบกับหม้อแปลงด้านแรงต่ำ จะใช้แรงดัน 400/230 V ด้านแรงสูง จะใช้แรงดัน 22 kV

ระบบจำหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

รูปแบบการออกระบบไฟฟ้า

อุปกรณ์ในการออกระบบไฟฟ้า 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ 2. ตัวนำไฟฟ้า (สายไฟฟ้า, บัสบาร์) 3. ท่อและราง สำหรับวางสายไฟฟ้า 4. อุปกรณ์ป้องกัน - เซอร์กิตเบรกเกอร์ - ฟิวส์ 5. หม้อแปลงไฟฟ้า

สายไฟฟ้า

ท่อสำหรับใส่สายไฟฟ้า

ฟิวส์

เซอร์กิตเบรกเกอร์

Main Distribution Board (ตู้ MDB)

งานออกแบบ ที่ต้องมีใบกว. 1) ระบบหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า - ขนาดตั้งแต่ 300 kVA ขึ้นไป - ขนาดแรงดันระหว่างสายในระบบตั้งแต่ 3.3 kV 2) ระบบไฟฟ้าสำหรับอาคารสาธารณะ - ขนาดการใช้ไฟฟ้ารวมกันตั้งแต่ 200 kVA ขึ้นไป 3) ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย และระบบป้องกันฟ้าผ่า - สำหรับอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุด หรือ

มาตรฐานการออกระบบไฟฟ้า มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ (Product Standard) มาตรฐานการติดตั้ง (Installation Standard)

มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ (Product Standard) หน่วยงานที่ตรวจสอบต้องมีความน่าเชื่อถือ สินค้าที่มีมาตรฐานจะเป็นที่ยอมรับ สินค้า หรือ อุปกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์ทดสอบตามมาตรฐาน จะได้รับอนุญาตให้นำตราหรือสัญลักษณ์ของหน่วยงานที่ทำการทดสอบมาติดไว้บนตัวผลิตภัณฑ์นั้นๆ ได้ หน่วยงานทดสอบมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ของประเทศไทยคือ “สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)”

มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ (Product Standard) มาตรฐานต่างประเทศ UL NEMA CSA IEC มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์สำหรับประเทศไทย TIS

มาตรฐานการป้องกันทางกลของอุปกรณ์ไฟฟ้า วัสดุอุปกรณ์ไฟฟ้า นอกจากจะมีการผลิตได้มาตรฐานแล้ว ยังกำหนดความสามารถในการป้องกันทางกลของเครื่องห่อหุ้มด้วยของอุปกรณ์ด้วย ป้องกันอันตรายจากของแข็งหรือของเหลว มาตรฐานที่ใช้คือ ดัชนีแสดงค่ามาตรฐานการป้องกัน (IP) กำหนดโดย IEC 529 และ NEMA

ดัชนีแสดงมาตรฐานระดับการป้องกันสิ่งห่อหุ้มอุปกรณ์ไฟฟ้า (Index of Protection, IP) เป็นมาตรฐานของ IEC แสดงด้วยตัวเลขรหัส 2 ตัว หรือ 3 ตัว ตามหลังตัวอักษร IP ตัวเลขรหัสตัวที่ 1 - ความสามารถในการป้องกันวัตถุ (ของแข็ง) ตัวเลขรหัสตัวที่ 2 - ความสามารถในการป้องกันของเหลว ตัวเลขรหัสตัวที่ 3 - ความสามารถในการป้องกันการกระแทก ทางกลจากวัตถุ

ตัวอย่างการใช้ดัชนีป้องกัน IP

ระดับการป้องกันตามมาตรฐาน NEMA จะใช้รหัสตัวเลข หรือ รหัสตัวเลขและตัวอักษร เป็นตัวบอกความเหมาะสมในการนำไปใช้งาน

ตารางเปรียบเทียบระดับการป้องกันตามมาตรฐาน NEMA กับ IP หมายเหตุ ใช้เปลี่ยนได้เฉพาะจาก NEMA  IP ไม่สามารถใช้เปลี่ยนจาก IP  NEMA ได้

มาตรฐานการติดตั้ง (Installation Standard) มาตรฐานต่างประเทศ - National Electrical Code (NEC) - International Electromechanical Commission (IEC) มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าภูมิภาค วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ว.ส.ท.) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ กรมโยธาธิการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ใช้ฉบับปัจจุบันของ ว.ส.ท. (ปี 2545) ผลักดันให้วิศวกรทั่วทั้งประเทศหันมาใช้มาตรฐานฉบับเดียวกัน ทำให้มีมาตรฐานเดียวกัน ทั่วทั้งประเทศ ง่ายต่อการตรวจสอบและบำรุงรักษา ลดข้อต่อเถียงกัน เนื่องจากอ้างอิงคนละมาตรฐาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บังคับใช้โดยหน่วยงานที่มีอำนาจดำเนินการ เช่น กฟน. กฟภ. (มีอำนาจเพียงการจ่ายไฟให้หรือไม่จ่ายไฟให้ เท่านั้น) โดยที่วิศวกรผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการติดตังจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่องานที่ดำเนินการอยู่ การปฏิบัติตามมาตรฐานอย่างถูกต้อง จะทำให้มั่นใจได้ว่ามีความปลอดภัยเพียงพอในระดับหนึ่ง ผู้ออกแบบและติดตั้งยังคงต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมอื่นๆ ประกอบด้วย และจะต้องเข้าใจมาตรฐานอย่างถูกต้องด้วย

มาตรฐานการติดตั้งของประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงจาก National Fire Protection Association (NFPA)  งานระบบทั้งหมด - NFPA 70 – National Electrical Code (NEC)

National Electrical Code (NEC) เป็นมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าที่มีมาเป็นเวลานานมาก มีความทันสมัย เนื่องจากมีการปรับปรุงทุกๆ 3 ปี มีเอกสารที่อธิบาย Code ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอยู่เป็นจำนวนมาก และหาได้ง่าย เช่น NEC Handbook ครอบคลุมการแก้ปัญหาการติดตั้งระบบไฟฟ้า มีหลายประเทศนำมาตรฐานนี้ไปใช้ (รวมทั้งไทย) ถึงแม้ปัจจุบันจะมีการผลักดันให้ใช้มาตรฐานของกลุ่มยุโรป (euro) แทน

มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มประเทศยุโรป วัสดุอุปกรณ์ที่จะนำไปขายให้กับประเทศกลุ่มยุโรป ต้องผ่านมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มประเทศยุโรป สินค้าตามมาตรฐานยุโรป ไม่ได้หมายความว่าดีกว่า สินค้าที่ผ่านมาตรฐานอื่น มาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ในมาตรฐาน ว.ส.ท. สอดคล้องกับ IEC มาตรฐานเซอร์กิตเบรกเกอร์ มาตรฐานเครื่องตัดไฟรั่ว

แบบและสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า ในการออกแบบระบบไฟฟ้า จะต้องใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ทั้งหมดในระบบ เพื่อสื่อให้ผู้ใช้งานมีความเข้าใจตรงกับผู้ออกแบบ เพื่อให้งานเป็นไปอย่างถูกต้องตรงกับที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้

สัญลักษณ์ของดวงโคมในระบบแสงสว่าง

สัญลักษณ์ของเต้ารับ

สัญลักษณ์ของสวิตช์

สัญลักษณ์การเดินสายไฟฟ้า

สัญลักษณ์อื่นๆ (1)

สัญลักษณ์อื่นๆ (2)

ลักษณะการทำงานของสวิตช์

ตัวอย่าง 1 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป วิธีทำ ระบบประกอบด้วย สวิตช์ทางเดียว (Sa) 1 ตัว ดวงโคมติดเพดาน 1 ดวง เดินสายจากแผงไฟย่อย LC 1 วงจร แบบ 1 เฟส สัญลักษณ์สายไม่มีขีด แสดงว่ามีสาย 2 เส้นในท่อเดินสาย

เขียนไดอะแกรมการต่อวงจรได้เป็น

เขียนไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงได้เป็น

ตัวอย่าง 2 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป วิธีทำ ระบบประกอบด้วยสวิตช์ทางเดียว 1 ตัว ควบคุม การเปิด – ปิด โครมไฟ 2 ดวงพร้อมกัน

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 2

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 2

ตัวอย่าง 3 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 1 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 3

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 3

ตัวอย่าง 4 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 2 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A) และ วงจรที่ 3 (เฟส B) มีการแยกสายนิวทรอล (ดูจากแผงจ่ายไฟย่อยใช้ 4 สาย)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 4

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 4

ตัวอย่าง 5 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ 3 ทาง (S3a) จำนวน 2 ตัว สวิตช์ 4 ทาง (S4a) จำนวน 1 ตัว มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 1 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 5

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 5

ตัวอย่าง 6 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a จำนวน 2 ดวง สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b จำนวน 2 ดวง สวิตช์ทางเดียว (Sc) ต่อกับดวงโคม c จำนวน 2 ดวง มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 3 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A) วงจรที่ 3 (เฟส B) วงจรที่ 5 (เฟส C) ใช้สายนิวทรอลร่วมกัน (ดูจากแผงจ่ายไฟย่อยใช้ 4 สาย)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 6

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 6