ระบบจัดการการเรียนรู้ Prajaks Jitngernmadan Faculty of Informatics Burapha University Bangsaen, Chonburi Prajaks Jitngernmadan
Principle of e-Learning สารบัญ ความหมายของระบบจัดการการเรียนรู้ องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ ประโยชน์ของระบบจัดการการเรียนรู้ CMS SCORM ลักษณะของระบบจัดการการเรียนรู้ แนวทางการเลือกใช้ระบบจัดการการเรียนรู้ Principle of e-Learning
ความหมายของระบบจัดการการเรียนรู้ ระบบจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) โปรแกรมที่นําเสนอความรู จัดเก็บขอมูลเพื่อติดตามสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้น และ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงใหดําเนินไปดวยความเรียบรอย โดยเปนสภาพแวดลอมการเรียนการสอน เปนเครื่องมือใหกับอาจารย์, นักเรียน และผูดูแลระบบ ทําใหเกิดความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง เมื่อเปรียบเทียบกับในอดีตที่ไมมีระบบจัดการเรียนรูอาจารยจะตองพัฒนาเว็บไซตที่มีความสามารถใกลเคียงกับระบบจัดการเรียนรูขึ้นมาเอง ซึ่งต้องใชทั้งเวลาและงบประมาณจํานวนมาก Principle of e-Learning
ความหมายของระบบจัดการการเรียนรู้ ระบบจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ แบ่งการจัดการเป็น 3 ระดับ ระดับ System Layer เปนระดับที่เปน โครงสรางพื้นฐานฮารดแวรและซอฟทแวร เชน โปรแกรมระบบปฏิบัติการ โปรแกรม web server และระบบจัดการฐานขอมูล ระดับ Service Layer เปนระดับของโปรแกรมระบบ ที่ทําหนาที่บริการใหกับโปรแกรมในระดับ Application layer โปรแกรมระบบในชั้นนี้จะเปนโปรแกรมหลักที่ฝงอยูในระบบจัดการเรียนรูตางๆ บางทีเรียกวา Core Module ระบบจัดการเรียนรูแตละโปรแกรมจะมี Core Module มีความสามารถแตกตางกัน หาก Core Module มีความสามารถสูง ระบบจัดการเรียนรูก็จะมีประสิทธิภาพสูง ทำงานได้รวดเร็ว Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ แบ่งการจัดการเป็น 3 ระดับ ระดับ Application Layer เปนระดับที่รองรับการใชงานของผูใชโดยตรง เปนเครื่องมือในการทํางานดานตางๆ เปนเครื่องมือที่ชวยใหผูเกี่ยวของในการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ทํางานไดสะดวกและมีประสิทธิภาพ โปรแกรมในระดับ Application Layer บางโปรแกรมผูสามารถเลือกที่จะติดตั้งเขามาสูระบบหรือไมก็ได (เปน Module แบบเลือกได) ตัวอยางเชน หากการเรียนการสอนไมเกี่ยวของกับเงิน (ในสถาบันการศึกษาเก็บเหมาจายตอเทอม) ก็ไมตองติดตั้ง Module “Financial” ซึ่งเปนเรื่องการคิดคาใชจายในการเรียน Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ Administration tools คือ เครื่องมือสนับสนุนการทํางานของผูดูแลระบบจัดการเรียนรู ประกอบดวย เครื่องมือในการตรวจสอบผูใชและติดตามบันทึกการใชงาน (Authentication and Tracking) เครื่องมือในการประมวลผลและจัดทํารายงาน (Report) การทําการสํารองและเรียกคืนข้อมูล (Backup and Report) เปนตน Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ Registration & Financial tools เครื่องมือในการลงทะเบียน การเก็บประวัติการเรียนและประวัติการทํากิจกรรมของผูเรียน Student Profile เครื่องมือในการเก็บประวัติผูเรียน ประวัติและผลการเรียน Assessment management tools ระบบจัดการทดสอบและประเมินผล (คลังขอสอบ, สถิติการสอบ) เครื่องมือสนับสนุนการทดสอบและประเมินผล ชวยใหผูสอนสรางแบบทดสอบชนิดตางๆ เชน ปรนัย (ตัวเลือก จับคู ถูกผิด) อัตนัย (เติมคํา ตอบคําถามสั้นๆ) ไดอยางรวดเร็ว ชวยจัดเก็บประวัติการทําแบบทดสอบ คะแนน และชวยการวิเคราะหสถิติขอสอบ (ความยากอํานาจจําแนก) ไดอยางรวดเร็ว ตัวอยางเครื่องมือ Automated testing management, Automated testing support, Online marking tools, Online grade book เปนตน Principle of e-Learning
องค์ประกอบของระบบจัดการการเรียนรู้ Curriculum Management tools เครื่องมือชวยจัดการรายวิชาและหลักสูตร ตั้งแต การสรางหลักสูตร การสรางรายวิชา การเปด/ปดรายวิชา Communication tools เครื่องมือสนับสนุนการสื่อสารระหวางผูเรียน ทั้งแบบสื่อสารในพรอมกันในเวลาเดียวกัน (Synchronous Communication tools) และสื่อสารคนละเวลา (Asynchronous Communication tools) Pedagogy tools เครื่องมือสนับสนุนการทํากิจกรรมการเรียนตาง ๆ เชน เครื่องมือในการบันทึกความรูประจําวัน online journal/note (Blog), เครื่องมือชวยการทํารายงานรวมกันของกลุม (Wiki) เปนตน share collaborativespace Principle of e-Learning
ประโยชน์ของระบบจัดการการเรียนรู้ ระบบเป็นรูปแบบของเว็บไซต์โปรแกรมประยุกต์ (Web Application) ทำให้เข้าถึงได้ง่าย สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลา จัดการกับเนื้อหาและวิชาจำนวนมากได้ (CMS: Content Management System) เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอน สามารถนำบทเรียนที่สร้างแล้วกลับมาใช้ใหม่ได้ การมีมาตรฐานเดียวกัน (SCORM) เพื่อเชื่อมต่อกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องได้อย่างสะดวก Principle of e-Learning
Principle of e-Learning CMS คือ ระบบจัดการเนื้อหาเพื่อนําเสนอเปนเว็บไซต CMS สนับสนุนการสราง และบรรจุเนื้อหา ความรู จากบุคคลที่หลากหลาย (แตมีสิทธิในการใชงานแตกต่างกัน) เขาสูระบบฐานขอมูล โดยมีการจัดระบบการทําสารบัญ ดัชนี เพื่อใหสามารถสืบคนและเรียกใช้ (Search and retrieve) ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเครื่องมือที่เอื้อใหผูใชนําเนื้อหาที่ผานการตรวจสอบและรับรองแลว มาเรียบเรียงเปนเนื้อหาความรู เปนเรื่องราวได้ Principle of e-Learning
Principle of e-Learning SCORM SCORM ย่อมากจาก Sharable Content Object Reference Model เพื่อศึกษาปัญหาของความไม่เข้ากัน (Incompatibility) ของระบบ อีเลิร์นนิ่ง และเนื้อหาวิชาที่พัฒนาแตกต่างฐานระบบกัน ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ ได้ออกข้อกำหนดแรกในเวอร์ชั่น 1.0 เมื่อปี ค.ศ. 2000 แต่เวอร์ชั่นที่ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับกันคือ ข้อกำหนด SCORM Version 1.2 ซึ่งออกเมื่อเดือนตุลาคม ปี ค.ศ. 2001 ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน 2004 คือ 4th Edition Released (March 31, 2009) Principle of e-Learning
ลักษณะของระบบจัดการการเรียนรู้ ระบบจัดการเรียนรูที่มีบริษัทผูพัฒนาเปนเจาของ (Commercial LMS) มีการขายระบบฯ พรอมบริการ โดยคิดเปนคาเชาใชเปนรายป เชน Blackboard™, WebCT™ เปนตน ซึ่งปัจจุบันได้รวมกันแล้ว Principle of e-Learning
ลักษณะของระบบจัดการการเรียนรู้ ระบบจัดการเรียนรูแบบเปดเผยรหัส (Open-Source LMS) สามารถใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เช่น Moodle, ATutor, Claroline, LearnSquare เปนตน Principle of e-Learning
แนวทางการเลือกใช้ระบบจัดการการเรียนรู้ ความพร้อมของทีมงานในการสนับสนุนด้านเทคนิค เป้าหมายของการใช้งาน ต้องมีการเปรียบเทียบความสามารถของแต่ละระบบ เพื่อเลือกใช้ระบบที่เหมาะสม (สามารถเข้าเปรียบเทียบได้ที่ http://www.edutools.info/item_list.jsp?pj=4) การเข้ากันได้กับระบบสารสนเทศขององค์กรที่มีอยู่แล้ว ลิขสิทธิ์ของการใช้งาน ซึ่งรวมหมายถึงค่าใช้จ่ายและงบประมาณที่เกี่ยวข้องด้วย Principle of e-Learning
Principle of e-Learning Questions??? Principle of e-Learning