ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)
Advertisements

ATM NETWORK.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
THREE-DIMENSIONAL GEOMETRIC
ª Geographic Information System ª ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
บทที่ 1 Signal Space and Gram-Schmidt Orthogonalization Procedure.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
(Global Positioning System)
สารสนเทศ (Information) เครื่องมือและอุปกรณ์ (Tool&Equipments) บุคลากร (Human) กระบวนการ (Procedure) ข้อมูล (Data)
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
What Is GIS? GIS เป็นคำย่อจาก Geographic Information System
บทที่ ๖ การวิเคราะห์ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS DATA ANALYSIS)
โปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
Computer Network.
Geographic Information System
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
การวิเคราะห์เชิงพื้นที่
Coordinate Systems & Map Projections.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับ ข้าราชการ ระดับ 3-5 การฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ วันที่ มิถุนายน และ วันที่ มิถุนายน.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
1 Documentation SCC : Suthida Chaichomchuen
การใช้โปรแกรม ArcGIS เพื่อประยุกต์ใช้งานตรวจสอบข้อมูลระบบชลประทาน
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part2) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
Data Management (การจัดการข้อมูล)
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สุธีระ ทองขาว สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน
Rewrite by Burin Rujjanapan Updated:
UML (Unified Modeling Language)
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
ศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การดำเนินงานคณะทำงานที่ 9 : ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบข้อมูล
Find a Point that Partitions a Segment in a Given Ratio a:b
องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
กองอสังหาริมทรัพย์ กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก.
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
กิจกรรมที่ 9 การสร้างตัวแปร ใน Scratch.
GEO1102 ภูมิศาสตร์มนุษย์ หัวข้อการเรียน (5)
DMA-Monitor ระบบติดตามผลและแจ้งเตือนความผิดปกติ
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
(ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546)
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
ประกาศอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4946 (พ. ศ
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้ อาจารย์จักรกริช ไชยเนตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ราชภัฏราชนครินทร์

ภาคบรรยาย : ภาคปฏิบัติการ : ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (GPS) การนำเข้า / ปรับแก้ข้อมูลในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) การสร้างแผนที่ (Layout) ภาคปฏิบัติการ : นำเข้า / ปรับแก้ข้อมูลเชิงพื้นที่ที่กำหนดให้ (point, line, polygon) จับพิกัดตำแหน่งแปลงสำรวจโดยใช้ GPS และนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (point, line, polygon) สร้างแผนที่ (layout)

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (GPS)

ระบบบอกตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ) ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก โดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากดาวเทียม Navigation Signal Timing and Ranging (NAVSTAR) จำนวน 24 ดวง

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ) GPS มีองค์ประกอบ 3 ส่วนหลัก 1. Space segment 2. Control segment 3. User segment

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ)

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ) ระบบพิกัด (coordinate System) : เป็นระบบที่สร้างขึ้นสำหรับใช้อ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง หรือ บอกตำแหน่งที่อยู่ของเราว่าเราอยู่บริเวณส่วนใดของแผนที่หรือบริเวณใดบนผิวโลก ที่นิยมมีอยู่2 ระบบ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์แบบ GCS (Geographic Coordinate System) ระบบพิกัดกริดแบบ UTM (Universal Transverse Mercator) Indian 1975 : L7017 WGS 1984 : L7018

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ)

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ)

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ) การตั้งค่าต่างๆ

ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (ต่อ) การตั้งค่าระบบพิกัด

ระบบภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) การบูรณาการความรู้และเทคโนโลยีทางด้าน การรับรู้จากระยะไกล (RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และ ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลก (GPS) ประยุกต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เครื่องมือที่ได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บ สืบค้น ปรับปรุง แก้ไข วิเคราะห์ และแสดงผล โดยข้อมูล มีการอ้างอิงพิกัดทางภูมิศาสตร์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานด้านต่างๆ

ลักษณะของข้อมูล GIS ข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) : เป็นข้อมูลที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ (geo-reference data) และรูปลักษณ์ของพื้นที่ ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่ ข้อมูลแบบเวกเตอร์ (vector data) และ ข้อมูลแบบแรสเตอร์ (raster data) ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) : เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะประจำตัวหรือรายละเอียดของข้อมูลเชิงพื้นที่ต่างๆ

ลักษณะของข้อมูล GIS (ต่อ) Related attribute data spatial data

ลักษณะของข้อมูล GIS (vector) ข้อมูลแบบเวกเตอร์ (vector data) ข้อมูลแบบจุด (point) เช่น ที่ตั้งหน่วยป้องกัน ข้อมูลแบบเส้น (line) เช่น ถนน เส้นทางลาดตระเวร ข้อมูลแบบพื้นที่ (polygon) เช่น พื้นที่ป่าสงวน พื้นที่ปลูกป่า

ลักษณะของข้อมูล GIS (vector)

ลักษณะของข้อมูล GIS Feature Examples Spatial Data Attribute Data Point - ชื่อหน่วย - - หน่วยป้องกัน - จุดเสี่ยงบุกรุก Line - ชื่อถนน - ความยาว - ถนน - เส้นทางลาดตระเวร Polygon - ขอบเขตป่าสงวน - แปลงปลูกป่า - ชื่อป่าสงวน - พื้นที่

ลักษณะของข้อมูล GIS (vector) Point ตำแหน่งพิกัดที่ไม่มีขนาด และทิศทาง Node X1,Y1 X2,Y2 X3,Y3

ลักษณะของข้อมูล GIS (vector) Line a b Node X1,Y1 Vertex X2,Y2 X3,Y3 Length = 15.26

ลักษณะของข้อมูล GIS (vector) a b c d Polygon Coord. x1,y1 x2,y2 x3,y3 x4,y4 xN,yN Perimeter L Area A