งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบพิกัด
ตรึงพิกัดแผนที่ระวางแปลงที่ดิน 1:4,000 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems – GIS )  เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) โดย ข้อมูลลักษณะต่างๆ ในพื้นที่ที่ทำการศึกษา จะถูกนำมาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน และกันซึ่งจะขึ้นอยู่กับชนิดและรายละเอียดของข้อมูลนั้นๆ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุดตามต้องการ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จะอ้างอิงจากระบบพิกัดภูมิศาสตร์ขององค์ประกอบข้อมูลเชิงพื้นที่ของ พื้นผิวโลก (Graphic หรือ Feature) ภูมิประเทศ (Features) อาจจะถูกแบ่งออกเป็นหลายชั้นข้อมูล (Layers) ที่จัดเก็บข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (Attribute data) ที่บรรยายถึงรูปร่างลักษณะของข้อมูลเชิงพื้นที่บนแผนที่ ข้อมูลเชิงคุณลักษณะเหล่านี้จะจัดเก็บในรูปแบบฐานข้อมูลซึ่งจะแยกออกจากข้อมูลเชิงพื้นที่ แต่ยังคงมี ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน และสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงคุณลักษณะ ในเวลาเดียวกัน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

4 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ประเภทข้อมูลในระบบ GIS ข้อมูลแสดงทิศทางหรือข้อมูลเวคเตอร์ (Vector data) ข้อมูลตารางกริดหรือข้อมูลราสเตอร์ (Raster data) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

5 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลแสดงทิศทางหรือข้อมูลเวคเตอร์ (Vector data) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่กระดาษบันทึกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ จุด (Points) หมุดหลักเขต บ่อน้ำ จุดชมวิว จุดความสูง อาคาร ตึก สิ่งก่อสร้าง เส้น (Arc or Lines) ลำน้ำ ถนน โครงข่ายสาธารณูปโภค เส้นชั้นความสูง พื้นที่ (Polygon) เขตตำบล อำเภอ จังหวัด ขอบเขตอุทยานแห่งชาติ เขตน้ำท่วม ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

6 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลแสดงทิศทางหรือข้อมูลเวคเตอร์ (Vector data) ข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute data) เป็นข้อความอธิบายที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงภาพเหล่านั้น เช่น ชื่อถนน, ลักษณะ พื้นผิว และจำนวนช่องทางวิ่งของเส้นถนนแต่ละเส้น ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

7 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลทิศทางหรือข้อมูลเวคเตอร์ (Vector data) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

8 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลตารางกริดหรือข้อมูลราสเตอร์ (Raster data) ข้อมูลแบบราสเตอร์ (Rastor format) Raster or grid representation คือ จุดของเซล ที่อยู่ในแต่ละช่วงสี่เหลี่ยม (grid) โครงสร้างของ Raster ประกอบด้วยชุดของ Grid cell หรือ pixel หรือ picture element cell ข้อมูลแบบ Raster เป็นข้อมูลที่อยู่บนพิกัดรูปตารางแถวนอนและแถวตั้ง แต่ละ cell อ้างอิงโดยแถวและสดมภ์ภายใน grid cell จะมีตัวเลขหรือภาพข้อมูล Raster  ความสามารถแสดงรายละเอียดของข้อมูลราสเตอร์ขึ้นอยู่กับขนาดของเซลล์ ณ จุดพิกัดที่ประกอบขึ้นเป็นฐานข้อมูลแสดงตำแหน่งชุดนั้น ซึ่งข้อมูลประเภท Raster มีข้อได้เปรียบในการใช้ทรัพยากรระบบคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีกว่า ช่วยให้สามารถทำการวิเคราะห์ได้รวดเร็ว Raster Data อาจแปรรูปมาจากข้อมูล Vector หรือแปลงจาก Raster ไปเป็น Vector แต่เห็นได้ว่าจะมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นระหว่างการแปรรูปข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

9 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลตารางกริดหรือข้อมูลราสเตอร์ (Raster data) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

10 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ข้อมูลตารางกริดหรือข้อมูลราสเตอร์ (Raster data) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

11 ระบบพิกัด โซนต่างๆในระบบพิกัด UTM ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

12 ระบบพิกัด พื้นที่โซน 47 และ 48 ของประเทศไทย
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

13 ระบบพิกัด จังหวัดที่อยู่ในโซน 48 จังหวัดที่อยู่ในโซน 48 ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น จันทบุรี ชัยภูมิ ตราด นครพนม นครราชสีมา นราธิวาส บุรีรัมย์ ปราจีนบุรี มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีษะเกษ สกลนคร สระแก้ว สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานีนอกนั้นจะอยู่ในโซน 47 ทั้งหมด ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

14 ระบบพิกัด พื้นหลักฐาน (Datum) ความแตกต่างของรูปทรงรี Indian1975 และ WGS84 เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก แผนที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยได้อ้างอิงพื้นหลักฐานตามหน่วยงานหลักทางด้านการผลิตแผนที่ คือ กรมแผนททหาร ซึ่งเดิมได้ใช้พื้นหลักฐานของประเทศอินเดีย คือ Indian 1975 ในการผลิตแผนที่ มาตราส่วน 1:50,000 ชุด L7017 ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาใช้พื้นหลักฐานฐาน World Geodetic System 1984 (WGS 84) ในการผลิตแผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 ชุด L7018 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

15 ขั้นตอนดำเนินงาน Shape File แปลงที่ดิน (กรมที่ดิน)
คัดโฉนด ระวางโฉนดที่ดิน (สำนักงานที่ดิน) Web Service แปลงที่ดิน (กรมที่ดิน) Center Line (ทช.) Overlay กับแปลงที่ดิน หรือระวางโฉนดที่ดิน ตรึงพิกัดระวางโฉนดที่ดิน 1:1,000 และ 1:4,000 วาดแปลงที่ดิน สร้าง STA. พิสูจน์ทราบเขตทาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

16 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน เพื่อพิสูจน์ทราบเขตทาง
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

17 ลิ้งดาวโหลดชั้นข้อมูล สารบัญแผนที่ 1:4,000 https://drive. google
ลิ้งดาวโหลดชั้นข้อมูล สารบัญแผนที่ 1:4,000 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

18 การตรวจสอบระวางแปลงที่ดิน (1:4,000)
สารบัญแผนที่ 1:4,000 (Index 1:4,000) 126,768 ระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

19 การตรวจสอบระวางแปลงที่ดิน (1:4,000)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

20 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิก Add Data เพื่อเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1

21 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิก Connect To Folder ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2

22 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เลือก Directory โฟลเดอร์ที่จัดเก็บไฟล์ชั้นข้อมูล แล้วคลิก OK (ต.ย. E:\Work\อบรม_ตรึงพิกัด\โฉนดที่ดิน) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3

23 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เมื่อทำการ Connect To Folder และเลือก Directory เราจะสามารถมองเห็นไฟล์ต่างๆและชั้นข้อมูลที่เราต้องการ คลิกเลือกชั้นข้อมูล กด Add (เปิดไฟล์ภาพโฉนดที่ดิน) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4

24 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เมื่อเลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการจะปรากฏ ดังภาพ (ต.ย. ได้ทำการเลือกโฉนดที่ดิน นครสวรรค์ ระวาง ) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5

25 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2 คลิกเครื่องมือ Zoom In เพื่อดูเลขระวางโฉนดที่ดิน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6

26 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
โฉนดที่ดิน นครสวรรค์ ระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 7

27 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เปิดชั้นข้อมูล OrthoIndex_wgs1984 ขึ้นมา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 8

28 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2. เลือก No Color เมื่อ Zoom In เข้าไปดูจะพบว่ามีตารางสี่เหลี่ยมอยู่จำนวนมาก ทำการคลิก ดังภาพ เพื่อเปลี่ยนสีการแสดงผล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 9

29 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เลือกสีเส้นขอบนอก แล้วคลิก OK ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 10

30 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 11

31 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวาที่ Layer : OrthoIndex_wgs1984 เลือก Open Attribute Table เพื่อทำการหา โฉนดที่ดิน นครสวรรค์ ระวาง ว่าอยู่ในช่องไหน? ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 12

32 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกเครื่องมือ Find and Replace… ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 13

33 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2 กรอกเลขระวาง แล้วคลิก Find Next หลังจากคลิก Find Next จะพบเลขระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 14

34 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิก Select บรรทัดของเลขระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 15

35 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวา Zoom To เพื่อไปยังกรอบเลขระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 16

36 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวา Layer : OrthoIndex_wgs1984 เลือก Properties ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 17

37 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2 3 4 คลิกดังภาพ เพื่อแสดงชื่อเลขระวาง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 18

38 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
กรอบสี่เหลี่ยมจะแสดงชื่อเลขระวาง ให้เช็คดูว่าตรงกับเลขระวางของเราหรือไม่ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 19

39 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวา Layer : โฉนดระวางที่ดิน ที่ต้องการตรึงพิกัด Zoom To Layer ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 20

40 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2 คลิกเครื่องมือ Zoom In และ Zoom ไปยังจุดที่ทราบพิกัด มุมซ้ายล่าง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 21

41 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวาที่ว่างๆ Georeferencing ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 22

42 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เครื่องมือ Georeferencing คลิก Add Control Point คลิกที่หัวมุมดังภาพ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23

43 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวาที่ Layer : OrthoIndex_wgs1984 เลือก Open Attribute Table ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 24

44 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
2.คลิกขวา 3 คลิกตามขั้นตอนดังภาพ 1 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 25

45 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เมื่อทำตามขั้นตอนดังภาพที่แล้ว ขั้นตอนนี้จะแสดงผลระวางเลข ให้คลิกมุมซ้ายล่างดังภาพ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 26

46 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกขวา Layer : โฉนดที่ดิน และคลิก Zoom To Layer ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 27

47 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
1 2 คลิกเครื่องมือ Zoom In และ Zoom ไปยังจุดที่ทราบพิกัด มุมขวาบน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 28

48 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกเครื่องมือ Zoom Out ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 29

49 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกที่มุมขวาบน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 30

50 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
ระวางแผนที่จะยืดเต็มกรอบ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 31

51 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
Zoom In ไปยังมุมขวาบน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 32

52 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
คลิกที่มุมระวางโฉนด และคลิกที่มุมของกรอบสีฟ้า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 33

53 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
มุมซ้ายล่างก็ทำเช่นกัน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 34

54 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เมื่อทำการฝั่งค่าพิกัดทั้ง4มุมของภาพเสร็จแล้ว คลิก Update Georeferencing เพื่อยืนยันค่าพิกัดที่ฝั่งลงไปฝังภาพ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 35

55 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
เปิดชั้นข้อมูลสายทางหลวงชนบท นำมาซ้อนทับบนโฉนดที่ดิน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 36

56 การตรึงพิกัดโฉนดที่ดิน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 37


ดาวน์โหลด ppt การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google