ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
Advertisements

ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาวขวัญใจ เมฆมหัศจรรย์
Scale: O 2 4 km N อ. จะ นะ (2) (1) (3) (4) (5) (6) ตำแหน่งที่ NO x สูงสุด (ug/m 3 ) สัญลักษณ์ จุดเก็บตัวอย่างอากาศ และเสียง (1) บ้านตลิ่งชัน (2) บ้านในไร่
โครงการการจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องประวัติบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อาจารย์ ดร. ไสว สุทธิพิทักษ์ อาจารย์สนั่น เกตุทัต.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่ตลาด E-Commerce (OTOP Online)
KM (Knowledge Management
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
ระเบียบ และ การเบิกจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
การจัดการองค์ความรู้
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
(KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
ตัวชี้วัด 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงาน วิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง ทันตแพทย์หญิงสุณี วงศ์คงคาเทพ ทันตสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ(ด้านทันตสาธารณสุข)
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
วิเคราะห์หลุมบนดวงจันทร์
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ กรมชลประทาน Knowledge management (KM)
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
Why’s KM ?.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
วัดความสูงของภูเขาบนดวงจันทร์
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
การจัดการความรู้ เรื่อง การเขียนบทความวิจัยให้มีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน นางสาวกนกวรรณ สัมมาขันธ์ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน

“ประเด็นการพูดคุย”  ความเสี่ยงของงานพัฒนาชุมชน  ข้อตรวจพบของตรวจสอบภายในจังหวัด และ สตง.  ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน

โครงการ/กิจกรรม ของกรมฯ ที่มีความเสี่ยง (งวด ณ วันที่ 30 กันยายน 2559) ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม ปี/ร้อยละ เพิ่มขึ้น/ลดลง ปี 2560 ปี 2559 จากปี 2559 1 การดำเนินโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP 28.95 30.26 -1.31 2 การบริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาชนบท 26.32 46.05 -19.73 3 การดำเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 21.05 19.74 1.31 4 กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) 18.42 0.00 5 โครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 17.11 -2.63 6 โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) 15.79 -1.32 7 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 13.16 22.37 -9.21 8 ระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) 9.21 7.89 1.32

ลำดับที่ โครงการ/กิจกรรม ปี/ร้อยละ เพิ่มขึ้น/ลดลง ปี 2560 ปี 2559 จากปี 2559 9 การจัดตั้งศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 7.89 6.58 1.31 10 การขับเคลื่อนแผนชุมชน และรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 11.84 -5.26 11 ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) 3.95 -2.63 12 งานพัฒนาศักยภาพอาสาพัฒนาชุมชน 2.63 9.21 -6.58 13 กองทุนแม่ของแผ่นดิน -3.95 14 การจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 1.32 15 งานหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต 16 การจัดการความรู้ (KM)

โครงการ/กิจกรรม ที่พบความเสี่ยง) ความเสี่ยงที่พบ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) ร้อยละ 18.42 การจัดทำบัญชี และเอกสารเบิกจ่ายเงินไม่เป็น ไปตามระเบียบ  คณะกรรมการบางส่วนไม่ปฏิบัติตามระเบียบ  ผู้กู้ยืมนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์  มีปัญหาเรื่องร้องเรียน

โครงการ/กิจกรรม ที่พบความเสี่ยง (ต่อ) ความเสี่ยงที่พบ โครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ร้อยละ 17.11 การส่งคืนเงินกู้ของสมาชิกล่าช้า และไม่ปฏิบัติ ตามระเบียบ  การทำบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน คณะกรรมการบางส่วนยังมีความรู้ความเข้าใจการ ดำเนินงานไม่ชัดเจน

โครงการ/กิจกรรม ที่พบความเสี่ยง (ต่อ) ความเสี่ยงที่พบ โครงการแก้ไข ปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ร้อยละ 15.79 มีการแก้ไขปัญหาที่ไม่ตรงตามความต้องการ ของประชาชน  คณะกรรมการกองทุนบางส่วนไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ครัวเรือนเป้าหมายส่งเงินไม่ตรงตามกำหนดเวลา การติดตามผลการดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง

โครงการ/กิจกรรม ที่พบความเสี่ยง (ต่อ) ความเสี่ยงที่พบ โครงการแก้ไข ปัญหาความยากจน (กข.คจ.) (ต่อ) ไม่มีการมอบหมายงานระหว่างกรรมการชุดเก่า กับชุดใหม่  จัดทำบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน มีสัญญายืม (แต่ไม่มีคนยืม) เอาเงินเข้าบัญชีช่วงใกล้ตรวจสอบ แล้วถอนออก ภายหลัง จ่ายเงินให้ครัวเรือนเป็นเงินสดไม่โอนเข้าบัญชี

ข้อทักท้วงจากผู้ตรวจสอบภายในกรม จังหวัด และ สตง. ข้อทักท้วงจากผู้ตรวจสอบภายในกรม จังหวัด และ สตง.

ข้อทักท้วงของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด รถราชการ - การจัดการขออนุญาตใช้รถตามแบบ 3 บันทึกการใช้รถ ตามแบบ 4 และบันทึกรายการซ่อมบำรุงรถตามแบบ 6 จัดทำไม่ครบถ้วน - ไม่จัดทำบัญชีรถราชการ (แบบ 2) และสิ้นปีไม่ได้สำรวจ และกำหนดเกณฑ์การใช้สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง - การเก็บรักษารถราชการในสถานที่ที่มิใช่สถานที่ราชการ - รถซ่อม/รถไม่ได้ใช้ นำมาเบิกน้ำมัน - การส่งมอบรถ (อุปกรณ์ไม่ครบถ้วน) รถส่วนตัว - การเบิกค่าน้ำมันชดเชย ไม่แนบระยะทางตามที่กรมทางหลวงกำหนด - แจ้งระยะทางไม่เหมาะสม (ใช้ในการประสานงานภายในจังหวัด)

ข้อทักท้วงของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด (ต่อ) หลักฐานการเบิกจ่าย - เอกสารประกอบการเบิกจ่ายไม่ครบถ้วน - การยืมเงินไม่ระบุวันครบกำหนดส่งใช้เงินยืม และไม่บันทึกการส่งใช้ ไว้ด้านหลังสัญญายืมเงิน - ใบสำคัญรับเงินไม่ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” พร้อมลงลายมือชื่อรับรอง การจ่าย และระบุชื่อผู้จ่ายเงินด้วยตัวบรรจง และวัน เดือน ปี ที่จ่าย กำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ - ไม่มีคำสั่งแต่งตั้งผู้ตรวจสอบการรับ - จ่ายเงินประจำวัน -ไม่จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ใบเสร็จรับเงินที่มีอยู่จริง ไม่ตรงกับรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงิน - ไม่มีการสอบทานใบเสร็จรับเงินตามรายการที่สถานพยาบาลเรียกเก็บ กับอัตราที่กรมบัญชีกลางกำหนดไว้

ข้อทักท้วงของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด (ต่อ) ทะเบียนคุม - จัดทำไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ครบทุกประเภท เช่น การบันทึก ทะเบียนคุมเงิน ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน ทะเบียนคุมลูกหนี้ - ทะเบียนคุมวัสดุครุภัณฑ์ ไม่แยกประเภทให้ชัดเจน เงินยืม - ส่งใช้เงินยืมล่าช้า - การให้ลูกหนี้ที่ยังไม่ได้ส่งใช้เงินยืมยืมซ้ำ - กรณียืมเงินเพื่อเดินทางไปราชการ ผู้ยืมไม่ใช่ผู้เดินทางไปราชการ

ข้อทักท้วงของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด (ต่อ) ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม - การเบิกค่าเช่าห้องประชุมไม่ได้ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ - เบิกจ่ายค่าของที่ระลึก/ของชำร่วย บางรายการเกินความจำเป็น และไม่ประหยัด - ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าเช่าที่พัก ค่าวิทยากร และ ค่าตอบแทนการจัดงาน เบิกจ่ายซ้ำซ้อน ใช้แบบฟอร์มหลักฐานการจ่ายเงิน ไม่เป็นไปตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด

ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน

ประเด็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม/จัดงาน การขออนุมัติดำเนินการตามโครงการไม่ครอบคลุม การเบิกค่าตอบแทนวิทยากรเกินกว่าอัตราที่ระเบียบกำหนด การให้ของที่ระลึกกับวิทยากรที่มาบรรยายตามหลักสูตร โครงการไม่สามารถเบิกจ่ายได้ การเบิกค่าพาหนะสูงกว่าอัตราที่กรมการขนส่งทางบกกำหนด การเบิกค่าอาหารกลางวันเกินจำนวนมื้ออาหารที่กำหนดไว้ใน กำหนดการ

ประเด็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม/จัดงาน (ต่อ) โครงการในลักษณะทางส่งเสริมพระพุทธศาสนา ไม่สามารถ เบิกได้ เช่น ค่าชุดไทยธรรม ค่าปัจจัย เครื่องสังฆทาน การเชิญข้าราชการบำนาญมาเป็นวิทยากร ให้ถือว่าไม่ใช่ บุคลากร ภาครัฐ โครงการฝึกอบรม/ดูงาน โครงการหมายเหตุว่า จัดเลี้ยงอาหาร ครบทุกมื้อ ให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงในระหว่างฝึกอบรม

ประเด็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม/จัดงาน (ต่อ) การฝึกอบรมที่มีการนำเสนอผลงานและมีผู้วิพากษ์ ไม่สามารถ เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรให้กับผู้วิพากษ์ได้ กรณีผู้เข้าร่วมอบรมเดินทางล่วงหน้าและกลับหลังสิ้นสุดการ อบรม เพราะเหตุส่วนตัวให้งดเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ทั้งช่วงเดินทางก่อนและหลังเสร็จสิ้นการอบรม โครงการฝึกอบรมที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นข้าราชการเข้ารับการ อบรมไม่ครบถ้วน แต่เบิกค่าใช้จ่ายครบตามจำนวน การเบิกค่าใช้จ่ายให้กับผู้ติดตาม หรือแขกผู้มีเกียรติโดยไม่ได้ ขออนุมัติค่าใช้จ่ายไว้ในโครงการ

ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร (ค่าสมนาคุณวิทยากร) - แบบฟอร์มตามระเบียบฝึกอบรมฯ (เอกสารหมายเลข 1) ท้ายระเบียบฝึกอบรมฯ - วิชาที่บรรยาย - ลักษณะการอบรม (บรรยาย / อภิปราย / แบ่งกลุ่ม) - ช่วงเวลาการอบรม - อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร  ใบสำคัญรับเงินค่าพาหนะสำหรับวิทยากร - แบบฟอร์มตามระเบียบฝึกอบรมฯ (เอกสารหมายเลข 1) ท้ายระเบียบฝึกอบรมฯ

 ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร / แบบฟอร์มตามระเบียบฝึกอบรมฯ (เอกสารหมายเลข 1) ท้ายระเบียบฝึกอบรมฯ

การเบิกค่าใช้จ่ายในการศึกษาดูงาน - กำหนดการศึกษาดูงาน ระบุรายละเอียดไม่ชัดเจน - การดูงานนอกสถานที่ จะเบิกค่าวิทยากรที่มาบรรยาย หรือพาเยี่ยมชมสถานที่ไม่ได้ - กรณีจะเบิก ต้องกำหนดไว้ในกำหนดการชัดเจน (การบรรยาย/อภิปราย / แบ่งกลุ่ม) - การเบิกค่าอาหารเย็นในการเดินทางไปศึกษาดูงาน เกินสิทธิ เนื่องจากสิ้นสุดระยะเวลาในการศึกษาดูงาน - ค่าของสมนาคุณวิทยากรในการศึกษาดูงาน (ของที่ระลึก) แห่งละไม่เกิน 1,500 บาท ไม่ได้ดำเนินการตามระเบียบพัสดุฯ

ตารางการฝึกอบรม - ระบุลักษณะการอบรม (บรรยาย / อภิปราย / แบ่งกลุ่ม) กรณีแบ่งกลุ่ม ระบุว่าประจำกลุ่มใด - ระบุชื่อวิทยากร - ตารางการฝึกอบรมที่มีพิธี – ปิด ไม่สามารถเบิกค่า สมนาคุณวิทยากรได้ - การกำหนดชื่อวิชาในตามรางฝึกอบรมไม่เหมาะสม

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก - การเบิกค่าเช่าที่พักเกินกว่าอัตราที่ระเบียบกำหนด - ไม่ให้เบิกจ่ายค่าพาหนะในลักษณะเหมาจ่าย - ค่าพาหนะกลุ่มเป้าหมาย (แนบ บก.111) หรือมีหลักเกณฑ์ ในการจ่าย โดยอ้างอิงอัตราของกรมการขนส่งทางบก - จัดได้เฉพาะการฝึกอบรมในประเทศเท่านั้น - ไม่สามารถเบิกค่าโดยสารเครื่องบินได้ หากจะเบิกต้อง ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน

การเบิกค่าเช่าที่พัก - รายชื่อผู้เข้าพักใน Folio ไม่ตรงกับใบลงทะเบียน - การเบิกค่าที่พักโครงการฝึกอบรม/สัมมนา/จัดงานต่าง ๆ ไม่ให้เบิกแบบเหมาจ่าย (จ่ายจริงแนบใบเสร็จ และ Folio) การนับเบี้ยเลี้ยง - หัก มื้ออาหารที่โครงการจัดให้ ในอัตรามื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางต่อวัน

ประเด็นด้านการยืมเงิน เอกสารประกอบการยืมเงินไม่ครบถ้วน - บันทึกขออนุมัติโครงการ และโครงการ - บันทึกขออนุมัติดำเนินการ - ตารางการฝึกอบรม - รายชื่อเจ้าหน้าที่โครงการ - รายละเอียดค่าใช้จ่ายของโครงการรายกิจกรรม - เอกสารทุกฉบับต้องรับรองสำเนาถูกต้อง

รายละเอียดในสัญญาการยืมเงิน/ส่งใช้ไม่ครบถ้วน - ไม่ระบุวันที่ / สถานที่ เลขที่สัญญายืมเงิน วันที่ครบกำหนด - ระยะเวลาการส่งใช้เงินยืม - ผู้มีอำนาจไม่ได้ลงนามอนุมัติในสัญญาการยืมเงิน - ส่งใช้คืนเงินยืมล่าช้ากว่ากำหนด - เป็นลูกหนี้ค้างนาน ไม่มีมาตรการในการติดตามลูกหนี้ - อนุมัติให้ยืมเงินซ้ำซ้อน

รายละเอียดในสัญญาการยืมเงิน/ส่งใช้ไม่ครบถ้วน (ต่อ) - ไม่บันทึกการรับคืนในสัญญายืมเงิน - ไม่ออกใบรับใบสำคัญ - ไม่ออกใบเสร็จรับเงิน (กรณีคืนเงินเหลือจ่าย) - เอกสารการสชดใช้เงินยืมไม่ครบถ้วน - ค่าสมนาคุณวิทยากรไม่สอดคล้องกับตารางการฝึกอบรม** - มีการแก้ไขเอกสารทางการเงิน - ใบเสร็จรับเงินไม่ระบุวันที่รับเงิน และชื่อผู้รับเงิน - การยืมเงินหลายโครงการในสัญญาเดียว ให้คำนึงถึงวันที่ครบกำหนดส่งใช้คืนเงินยืม

ประเด็นด้านค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การขออนุมัติไปราชการ ระบุรายละเอียดไม่ครบถ้วน ไม่ครอบคลุมการเดินทาง การเขียนใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) - รายบุคคล - หมู่คณะ การเขียนใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก. 111) ไม่ครบถ้วน การแก้ไข ขีดฆ่า ขูดลบในหลักฐานทางการเงิน ลงชื่อรับเงินใน แบบ 8708 อย่างเดียว

การนับเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (1) มิได้มีการพักแรม - นับได้ไม่ถึง 24 ชั่วโมง แต่เกิน 12 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วัน - นับได้ไม่ถึง 12 ชั่วโมง แต่เกิน 6 ชั่วโมง ให้ถือเป็น ครึ่งวัน (2) มีการพักแรม - นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน - เศษของ 24 ชั่วโมง ถ้าเกิน 12 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วัน  

ใบเสร็จค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์ราชการ (1) ต้องมีรายการครบ 5 รายการ ดังต่อไปนี้ - ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน - วัน เดือน ปี ที่รับเงิน - รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร - จำนวนเงินทั้งตัวเลขและอักษร - ลายมือชื่อของผู้รับเงิน (2) ระบุหมายเลขทะเบียนรถยนต์ราชการ (3) ปริมาณน้ำมันที่เติมเกินความจุของถัง (4) ใบเสร็จค่าผ่านทางพิเศษ กับระยะเวลาในการเดินทาง ไม่สอดคล้องกัน

การเบิกค่าที่พักในการเดินทางไปราชการ ไปราชการเป็นหมู่คณะ ต้องเบิกเหมือนกันทั้งคณะ โดยเบิกเหมาจ่ายหรือจ่ายจริงไม่เกินระเบียบกำหนด ไปราชการครั้งเดียว โดยเดินทางต่อเนื่องหลายจังหวัด ต้องเบิกเหมือนกัน โดยเบิกเหมาจ่ายหรือจ่ายจริงไม่เกิน ระเบียบกำหนด

ขอบคุณค่ะ www.audit.cdd.go.th กลุ่มตรวจสอบภายใน