“หลักการแก้ปัญหา”.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Application Development Overview Nithi Thanon Computer Science Prince of Songkla University.
Advertisements

แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
รหัสเทียม (Pseudo Code)
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Introduction : Principle of Programming
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
Modeling and Activity Diagram
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
Introduction ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Programming & Algorithm
ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM facebook : krumoo ck O.COM ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM.
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
“หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม” (ง32106)
อัลกอริทึมและผังงาน อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
15 กันยายน 2559.
Data Structure & Algorithm Concept
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
การแสดงขั้นตอนวิธีด้วยรหัสเทียม (Pseudo-Code)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
Java Development Tools
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
บทที่ 2 ขั้นตอนการทำงาน (Algorithm)
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Learning Assessment and Evaluation
ชิ้นงานที่ 1 ( 10 คะแนน ) ( งานเดี่ยว ) นักเรียนเขียนผังงาน Flowchart แสดงกระบวนการดำเนินงานในการสร้างเว็บไซต์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
จังหวัดสมุทรปราการ.
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
ฉัตรชัย นิติภักดิ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
คำอธิบาย รายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 รหัสวิชา ง23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ความหมายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
การตรวจสอบย้อนกลับ TRACEABILITY
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“หลักการแก้ปัญหา”

ปัญหาคืออะไร? ปัญหา คือ สิ่งที่เรายังไม่ทราบคำตอบและยังไม่ทราบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา

ปัญหาปริศนาลากเส้น มีจุด 9 จุด ตามที่กําหนดดังรูป จงลากเส้นตรง 4 เส้น ให้ผ่านจุดทั้ง 9 จุดนี้ โดยไม่ยกปากกา(ดินสอ)

เฉลย 3 ครั้งที่ 1 4 2 เส้นตรง 4 เส้น ลากผ่านจุดทั้ง 9 จุด โดยไม่ต้องยกปากกา(ดินสอ)

สรุปกระบวนการแก้ปัญหาประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การวางแผนในการแก้ปัญหา การดำเนินการแก้ปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ การตรวจสอบและปรับปรุง

ตัวเลขแสนกล ให้เติมตัวเลข 1-9 ลงในช่องสี่เหลี่ยมที่จัดวาง ดังรูปข้างล่าง โดยตัวเลขในช่องจะต้องไม่ซ้ำกัน และผลรวมของตัวเลขในด้านตามแนวนอนแนวตั้ง และแนวทแยง แต่ละด้านมีค่าเท่ากับ 15 5

แนวคิดในการแก้ปัญหาตัวเลขแสนกล 1. ตัวเลขและจำนวนช่องเท่ากัน ผลรวมตัวเลขทั้งแนวตั้ง แนวนอน และแนวทแยง เท่ากับ 15 2. การเติมเลข 5 บริเวณช่องกลาง เนื่องจาก 5 เป็นค่ากลางของเลขทั้งหมด (1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9) 3. เลขอีก 2 จำนวนที่นำมาเติมในช่องต้องมีผลรวมกับค่ากลางได้เท่ากับ 15 ดังนั้นเมื่อนำเลขที่เหลือ มาจับคู่กันต้องมีผลรวมเท่ากับ 10 จะจับคู่กันได้ดังนี้ (1,9) (2,8) (3,7) (4,6) 4. แนวคิดในการจัดวางตัวเลข

ค้นหาเหรียญปลอม มีเหรียญบาทอยู่ 9 เหรียญ เป็นเหรียญปลอม1 เหรียญซึ่งมีน้ำหนักเบากว่าเหรียญจริง จงหาวิธีในการหาเหรียญปลอมโดยการชั่งด้วยตาชั่ง 2 แขนเพียง 2 ครั้ง คุณสมบัติของตาชั่ง 2 แขนคือ ตาชั่งชนิดนี้จะสามารถบอกน้ำหนักได้ก็ต่อเมื่อของที่นำขึ้นชั่งทั้ง 2 แขนมีน้ำหนักเท่ากัน

ปริศนาตัวเลข ตัวอักษรแต่ละตัวแทนตัวเลขโดดที่ต่างกันและไม่ซ้ำกับตัวเลขโดดที่มีอยู่ จงหาว่าตัวอักษรแต่ละตัวแทนตัวเลขอะไรที่ทำให้มีผลลัพธ์ดังนี้ A 7 5 D 3 B 11 C 9 +

เฉลย A = 2 B = 4 C = 0 D = 8 A 7 5 D 3 B 11 C 9 + 2 7 5 8 3 4 11 0 9 +

อย่าเผลอให้จับกิน นายแดงต้องนำของ 3 สิ่งคือ ผักกาด 1 เข่ง แกะ 1 ตัว และ สุนัข 1 ตัว ข้ามแม่น้ำไปยังฝั่งตรงข้าม มีเรือเพียง 1 ลำ บรรทุกได้ครั้งละ 1 สิ่ง โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าบนฝั่งแม่น้ำฝั่งใดฝั่งหนึ่ง มีแกะอยู่กับผัก แกะจะกินผัก ถ้ามีสุนัขอยู่กับแกะสุนัขจะกินแกะ นายแดงมีวิธีการใดที่จะนำของทั้งสามสิ่งข้ามแม่น้ำไปอย่างปลอดภัย

การแก้โจทย์ปัญหา ลองผิด ลองถูก การใช้เหตุผลประกอบ วิธีขจัด การใช้ตารางแสดงความสัมพันธ์

1. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบ

ตัวอย่างที่ 1 แสดงการวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของการหาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 5 จำนวน ได้แก่ 3, 7, 2, 4 และ 9 (1) การระบุข้อมูลเข้า ในที่นี้โจทย์กำหนดให้หาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็ม 5 จำนวน ดังนั้น ข้อมูลเข้าได้แก่จำนวน 3, 7, 2, 4 และ 9 (2) การระบุข้อมูลออก จากโจทย์สิ่งที่เป็นคำตอบของปัญหา คือค่าเฉลี่ย (x) ของจำนวนทั้งห้า (3) การกำหนดวิธีการประมวลผล จากสิ่งที่โจทย์ต้องการ "ค่าเฉลี่ย" หมายถึง ผลรวมของจำนวนทั้ง 5 หารด้วย 5 ดังนั้น ขั้นตอนของการประมวลผลประกอบด้วย 3.1 รับค่าจำนวนทั้ง 5 จำนวน 3.2 นำจำนวนเต็มทั้ง 5 มาบวกเข้าด้วยกัน 3.3 นำผลลัพธ์จากข้อ 3.2 มาหารด้วย 5

2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm development) ในการออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา ผู้แก้ปัญหาควรใช้แผนภาพหรือเครื่องมือในการแสดงขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ง่ายต่อความเข้าใจเช่น ผังงาน (flowchart) รหัสลำลอง (pseudo code) การใช้เครื่องมือช่วยออกแบบดังกล่าวนอกจากแสดงกระบวนการที่ชัดเจนแล้ว ยังช่วยให้ผู้แก้ปัญหาสามารถหาข้อผิดพลาดของวิธีการที่ใช้ได้ง่ายและแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว

         เริ่มต้น ปัญหา ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนและออกแบบ จบ ปัญหา ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนและออกแบบ ดำเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบการแก้ปัญหา สำเร็จหรือไม่ นำไปใช้ ไม่ ใช่         

      การทำบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เริ่มต้น ต้มน้ำให้เดือด จบ ต้มน้ำให้เดือด ใส่บะหมี่ลงในน้ำเดือด รอ 2 นาที ใส่เครื่องปรุงแล้วยกหม้อลงจากเตา     

3. การดำเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขั้นตอนวิธีเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงาน ขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้โปรแกรมสำเร็จ หรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาที่เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในการดำเนินการอาจพบแนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้

4. การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด

ปัญหาบางปัญหาไม่สามารถแก้ได้ เช่นมีเมืองๆ หนึ่งมีช่างตัดผมอยู่ 1 คน และเมืองนี้มีกติกาว่าการตัดผมต้องใช้ช่างตัดผมของเมืองนี้ตัดให้เท่านั้น และห้ามตัดผมให้ตัวเองปัญหาเกิดขึ้นที่ช่างตัดผมคนนี้จะจัดการกับผมตัวเองได้อย่างไร จะเห็นว่าปัญหานี้ไม่มีทางแก้ได้เลย ดังนั้นปัญหาบางอย่างก็ไม่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแก้ปัญหาให้ได้เช่นกัน

คำถาม & คำตอบ