แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่ การคัดกรอง การรายงานผลการคัดกรอง แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.สต. แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.ชุมชน แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.แม่ข่ายและรพ.นครพิงค์ แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
แนวทางการดำเนินการคัดกรอง ลำดับ กิจกรรม ผลการคัดกรอง ผู้ดำเนินการ การรายงาน 1 การคัดกรองโดยแบบคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม 2 ข้อ 3.1 ไม่ปวด 3.2 ปวดเข่า อสม./ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ รายงานผลให้รพ.สต. 2 ใช้คำถามคัดกรองข้อเข่าเสื่อมทางคลินิก 5 ข้อ 4.1 ไม่เสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม 4.2 เสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม
แนวทางการดำเนินการคัดกกรอง ลำดับ กิจกรรม ผลการคัดกรอง ผู้ดำเนินการ 3 ประเมินโดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม ( Oxford Knee Score ) 5.1 ไม่พบอาการผิดปกติ ( 40 – 48 คะแนน ) 5.2 เริ่มมีอาการ ( 30 – 39 คะแนน ) 5.3 ระดับปานกลาง ( 20 – 29 คะแนน ) 5.4 ระดับรุนแรง ( 0 – 9 คะแนน ) พยาบาลรพ.สต.หรือนักกายภาพบำบัดที่ปฏิบัติงานในรพ.สต.
การรายงานผลการดำเนินงานค้นหาคัดกรอง ภาวะข้อเข่าเสื่อม ลำดับ กิจกรรม จำนวน (คน) ร้อยละ 1 จำนวนผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ 2 ผู้ป่วยเข่าเสื่อมอยู่ระหว่างการรักษา 3 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อม โดยใช้แบบคัดกรองข้อเข่าเสื่อม 2 ข้อ 3.1 ไม่ปวด 3.2 ปวดเข่า
การรายงานผลการดำเนินงานค้นหาคัดกรอง ภาวะข้อเข่าเสื่อม ลำดับ กิจกรรม จำนวน (คน) ร้อยละ 4 จากข้อ 3.2 ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่าได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมโดยใช้คำถามคัดกรองข้อเข่าเสื่อมทางคลินิก 5 ข้อ 4.1 ไม่เสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม 4.2 เสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม 5 จากข้อ 3.2 ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม ได้รับการประเมินโดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม ( Oxford Knee Score ) 5.1 ไม่พบอาการผิดปกติ ( 40 – 48 คะแนน ) 5.2 เริ่มมีอาการ ( 30 – 39 คะแนน ) 5.3 ระดับปานกลาง ( 20 – 29 คะแนน ) 5.4 ระดับรุนแรง ( 0 – 9 คะแนน )
การรายงานผลการดำเนินงานค้นหาคัดกรอง ภาวะข้อเข่าเสื่อม ลำดับ กิจกรรม จำนวน (คน) ร้อยละ 6 ห้องน้ำภายในบ้าน 6.1 แบบนั่งราบ (ชักโครก เก้าอี้นั่งถ่าย) 6.2 ไม่มีแบบนั่งราบ (ส้วมซึม กระโถน) 6.3 มีทั้ง 2 แบบ
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่ แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.สต. แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.ชุมชน แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.แม่ข่ายและรพ.นครพิงค์ แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.สต. จากกระบวนการคัดกรองเบื้องต้นและประเมินโดยใช้แบบประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม ( Oxford Knee Score )
ยังไม่พบอาการผิดปกติ (40 – 48 คะแนน ) ให้ความรู้เชิงส่งเสริมป้องกันเป็นรายบุคคลและกิจกรรมเสริมทักษะ ส่งเสริมให้บริหารกล้ามเนื้อเข่าและการออกกำลังกาย แบบแอโรบิกที่เหมาะสมและถูกต้อง เฝ้าระวังและปรับสภาพแวดล้อมในบ้านและชุมชน ประเมินสมรรถภาพร่างกาย (วัดรอบเอว, BMI,BP,6-minute walk test ) ประเมินซ้ำทุก 1 ปี
เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อม( 30 – 39 คะแนน ) ให้ความรู้เรื่องโรคและรักษา การปฏิบัติตัวที่เหมาะสม ควบคุมน้ำหนักให้เป็นไปตามเกณฑ์ (BMI≤23) ส่งเสริมให้บริหารกล้ามเนื้อเข่าและการออกกำลังกาย แบบแอโรบิกที่เหมาะสมและถูกต้อง ปรับสภาพแวดล้อมในบ้านและชุมชนเพื่อลดแรงกระทำที่ข้อ ให้การรักษาเบื้องต้นด้วยการใช้ยาบรรเทาปวดหากไม่มีข้อห้ามในการใช้ยา นัดประเมินติดตามอย่างเหมาะสม
มีอาการโรคข้อเข่าเสื่อมระดับปานกลาง ( 20 – 29 คะแนน ) ส่งปรึกษาแพทย์ที่มาปฏิบัติงานที่รพ.สต.เพื่อวินิจฉัยและสั่งการรักษา ให้การรักษาด้วยการใช้ยาบรรเทาปวดประมาณ 1 เดือน.หากอาการดีขึ้นนัด F/U อีก 6 เดือน หากอาการไม่ดีขึ้นส่งต่อรพ.ชุมชนเพื่อวินิจฉัยและสั่งการรักษาโดยปั้มตรายางพร้อมกรอกคะแนนจากใบประเมิน oxford ลงในใบส่งตัว
แบบตรายางผลการประเมินโรคข้อเข่าเสื่อม จากใบประเมิน oxford ประเมินเมื่อ ……/…………../………. ( ) ไม่พบอาการผิดปกติ ( 40 – 48 คะแนน ) ( ) เริ่มมีอาการ ( 30 – 39 คะแนน ) ( ) ระดับปานกลาง ( 20 – 29 คะแนน ) ( ) ระดับรุนแรง ( 0 – 9 คะแนน )
เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมระดับรุนแรง ( 0 – 19 คะแนน ) พิจารณาส่งต่อรพ.ชุมชน / รพ.แม่ข่าย ภายใน 1สัปดาห์โดยปั้มตรายางพร้อมกรอกคะแนนจากใบประเมิน oxford ลงในใบส่งตัว
แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมในรพ.ชุมชน รับผู้ป่วยส่งต่อจากรพ.สต. (ปั้มตรายางพร้อมคะแนนจากใบประเมิน OXFORD ) คลินิกปกติหรือคลินิกผู้สูงอายุ แพทย์ตรวจประเมิน สั่งการการบำบัด ด้วยยา / พิจารณาจ่ายอุปกรณ์พยุงข้อเข่า / การ ฝังเข็ม / นัดติดตาม
ส่งปรึกษากายภาพบำบัด 2.1 ตรวจประเมินโดยใช้ แบบประเมิน KOOS-PS บันทึกใน OPD CARD 2.2 ให้ความรู้เรื่องโรคการและรักษา การปฏิบัติตัวที่เหมาะสมและควบคุมน้ำหนักให้เป็นไปตามเกณฑ์ 2.3 ฝึกทักษะในการบริหารกล้ามเนื้อเข่า +/- การออกกำลังกาย แบบแอโรบิก 2.4 แนะนำปรับสภาพแวดล้อมในบ้านและชุมชนเพื่อลดแรงกระทำที่ข้อ 2.5 รักษาด้วยวิธีการทางกายภาพบำบัด 2.6 นัดติดตามการรักษา และประเมินซ้ำ โดยใช้ แบบประเมิน KOO S-PS และ OXFORD (ส่งตัวกลับ)
แบบประเมิน KOOS-PS แบบประเมินการใช้งานข้อเข่า_แบบสั้น สำหรับนักกายภาพบำบัด (Knee injury and Osteoarthritis Outcome Score-Physical function Shortform, KOOS-PS) ชื่อผู้ป่วย อายุ HN……………… 1.ลุกขึ้นจากเตียง ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 2.สวมถุงน่องหรือถุงเท้า ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 3.ลุกขึ้นจากเก้าอี้ ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 4. ก้มหยิบของจากพื้น ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 5. หมุนบิดขาบนเข่าข้างที่ปวด ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 6.คุกเข่า ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด 7.ย่อเข่าหรือนั่งยองๆ ( ) ไม่ลำบากเลย ( )ลำบากเล็กน้อย ( )ลำบากปานกลาง ( ) ลำบากมาก ( )ลำบากมากที่สุด
ผลการรักษา ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น ส่งตัวกลับรพ.สต.เพื่อดูแลต่อตาม Flow chart ระบุคำแนะนำการรักษา*และคะแนนที่ได้จากการประเมินตามเกณฑ์ประเมินของ OXFORD ในตรายางเมื่อส่งตัวกลับมารับการดูแลรักษาที่รพ.สต. หมายเหตุ กรณีกลับมามีอาการเพิ่มขึ้นอีก ต้องประเมินซ้ำโดยใช้ OXFORD และปฏิบัติตามขั้นตอน 1.ส่งปรึกษาแพทย์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ รพ.แม่ข่าย
แนวทางการดูแลและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ในรพ.แม่ข่าย และ รพ.นครพิงค์
กรณีรับผู้ป่วยจากรพ.สต.ในเขต (มีใบส่งตัว+ตรายางคะแนน oxford ) คลินิกPCU/คลินิกผู้สูงอายุ คลินิกกระดูกและข้อ การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -การลดน้ำหนัก -การฟื้นฟูสมรรถภาพข้อเข่า -กายภาพบำบัด การบำบัดด้วยา การฝังเข็ม
การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การรักษาโดยการผ่าตัด (OPERATIVE) กรณีรับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมจากรพช. ผู้ป่วยรับบริการที่คลินิกกระดูกและข้อ การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การรักษาโดยการผ่าตัด (OPERATIVE) -โปรแกรมเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด -การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม -การล้างข้อ และการตัดแต่งเนื้อเยื่อในข้อด้วยการส่องกล้อง -การผ่าตัดกระดูกเปลี่ยนแนว และหัตถการคงสภาพข้อ - การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วน -แพทย์นัดติดตาม -รพ.แม่ข่ายพิจารณา ส่งต่อรพ.นครพิงค์ กรณี complicated การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -การลดน้ำหนัก -การฟื้นฟูสมรรถภาพข้อเข่า -กายภาพบำบัด การบำบัดด้วยา การฝังเข็ม
การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) กรณีรับผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมจากรพช. ผู้ป่วยรับบริการที่คลินิกกระดูกและข้อ การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การรักษาโดยการผ่าตัด (OPERATIVE )
การรักษาแบบอนุรักษ์ (CONSERVATIVE) การรักษาโดยไม่ใช้ยา การบำบัดด้วยา -การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -การลดน้ำหนัก -การฟื้นฟูสมรรถภาพข้อเข่า -กายภาพบำบัด -การบำบัดด้วยาบรรเทาการปวด ยาต้านการอักเสบ ยาต้านการอักเสบชนิดทาภายนอก ยาอนุพันธุ์ฝิ่น -การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าข้อ -การฉีดยากรดไฮยาลูโรนิกเข้าข้อ , SYSADOA -การฝังเข็ม
การรักษาโดยการผ่าตัด (OPERATIVE) -โปรแกรมเตรียมตัวก่อนการผ่าตัด -การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเทียม -การล้างข้อ และการตัดแต่งเนื้อเยื่อในข้อด้วยการส่องกล้อง -การผ่าตัดกระดูกเปลี่ยนแนว และหัตถการคงสภาพข้อ - การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมบางส่วน -แพทย์นัดติดตาม -รพ.แม่ข่ายพิจารณา ส่งต่อรพ.นครพิงค์ กรณี complicated
การดูแลหลังผ่าตัดเมื่อผู้ป่วยจำหน่ายจากรพ. รพ.สต. รับไว้ดูแลเมื่อกลับมาสู่ชุมชนตามแนวทางที่กำหนด ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยหลังผ่าตัดข้อเข่าเทียม สัปดาห์ที่ 1-3,4-6,6-12, และ สัปดาห์ที่ 12-6 เดือน