Chapter I Introduction to Law and Environment Outline & Reading ความหมายของสิ่งแวดล้อม ขอบเขตของวิชา ความสัมพันธ์ของการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 Outline ก่อนสอบกลางภาค ผู้สอน: นัทมน คงเจริญ เนื้อหา (มีคะแนนเก็บ 20 คะแนน) สัปดาห์ที่ หัวข้อ 1 บทที่ 1 บทนำ - ความหมายและความสำคัญของสิ่งแวดล้อม - การจัดการสิ่งแวดล้อม บริบททางเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคม - ปัญหาสิ่งแวดล้อมในสังคม 2 บทที่ 2 พัฒนาการของกฎหมายในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาการของการจัดการสิ่งแวดล้อมระดับสากล พัฒนาการของกฎหมายกับการจัดการสิ่งแวดล้อมของไทย ก่อนจะมาเป็นกฎหมายสิ่งแวดล้อม 3 บทที่ 3 กลไกและมาตรการทางกฎหมาย ในการจัดการสิ่งแวดล้อม - มาตรการบังคับและควบคุม - การบริหารจัดการตนเอง - ข้อมูลข่าวสาร ความรู้และการศึกษา - การห้องคดีและการใช้อำนาจทางศาล - การคุ้มครองสิ่งแวดล้อมภายใต้ระบบกฎหมายทรัพย์สิน Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 สัปดาห์ที่ หัวข้อ 4 บทที่ 4 กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ที่มาของหลักการและแนวคิดในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ปฏิญาสต็อคโฮล์ม 1972 - ปฏิญญาริโอ 1992 - ข้อตกลงระหว่างประเทศในการจัดการสิ่งแวดล้อม และกลไกในการบังคับใช้ 5 บทที่ 5 แนวคิดในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม - แนวคิดการอนุรักษ์ - หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน - หลักการป้องกันก่อน - หลักมรดกร่วมกันของมวลมนุษยชาติ - หลักความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม 6 - หลักผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย และหลักการผู้รับประโยชน์เป็นผู้จ่าย - หลักการทางเศรษฐศาสตร์กับการจัดการสิ่งแวดล้อม - หลักความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม 7 บทที่ 6 กฎหมายในการจัดการทรัพากรและสิ่งแวดล้อม - โครงสร้างของกฎหมาย - กฎหมายในการจัดการทรัพยากร 8 - กฎหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อม - กฎหมายในการจัดการระบบสุขภาวะ สอบกลางภาค พฤหัสที่ 4 ตค. เวลา 12.00 – 15.00 น. (30 คะแนน) open book exam Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 Outline หลังสอบกลางภาค อ.ผู้สอน – อ.นัทมน และอ.บุญชู สัปดาห์ที่ หัวข้อ 9 บทที่ 7 สิทธิในสิ่งแวดล้อม - สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี - สิทธิในการมีส่วนร่วม - สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสาร - สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม 10 บทที่ 8 ภาพรวมของพรบ.ส่งเสริมและคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 2535 - ความเป็นผู้เสียหายของประชาชน - รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม - การฟ้องคดีเพื่อเยียวยาสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 สัปดาห์ที่ หัวข้อ 11 วิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อม จากกรณีศึกษา (อ.บุญชู) 12-13 บทที่ 9 การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม (อ.บุญชู) มาตรการทางแพ่ง มาตรการทางอาญา มาตรการทางปกครอง 14 - บทบาทของภาคประชาชนในการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมผ่านกรณีศึกษา สอบปลายภาค วันพฤหัสที่ 29 พย. เวลา 12.00-15.00 น. 50 คะแนน (อ.นัทมน 20, อ.บุญชู 30) closed book exam Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 Reading เอกสารประกอบเพิ่มเติมหลังสอบกลางภาค 1. สุภาภรณ์ มาลัยลอย,สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์, รายงานฉบับสมบูรณ์ การรวบรวมคดีสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญของไทย (30 คดีดัง), โครงการนิติธรรมสิ่งแวดล้อม, 2554, http://enlawfoundation.org/newweb/wp-content/uploads/30ThaiEnvironmentalCases_FullReport.pdf 2. กฤษณะ ช่างกล่อม, การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อมกับปัญหาระบบความยุติธรรมไทย, กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2556 3. สำนักงานศาลปกครอง,ศาลปกครองกับคดีสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ : พี.เพรส, 2553 4. สำนักงานศาลปกครอง, หลักกฎหมายและวิธีพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อมของต่างประเทศ, กรุงเทพฯ : พี.เพรส, 2553 Chapter I Introduction
Chapter I Introduction Reading 10/12/2018 เอกสารคำบรรยายและสไลด์ เป็นหลักในการทำความเข้าใจเนื้หาของกระบวนวิชา เอกสารประกอบเพิ่มเติมก่อนสอบกลางภาค หนังสือ: 1. จุมพต สายสุนทร, กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2550). 2. อำนาจ วงศ์บัณฑิต, กฎหมายสิ่งแวดล้อม (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2557). 3. อุดมศักดิ์ สิทธิพงศ์, กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2554). บทความ/ บทความในหนังสือ: 4. Garrett Hardin, ”The Tragedy of the Commons” Science Vol. 162 No.3859 (Dec 13, 1968) pp.1243-1248. 5. กอบกุล รายะนาคร, หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม: Precautionary and Polluter Pays Principles รวมบมความ: โลกาภิวัฒน์และสิ่งแวดล้อม (เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ, 2553). 6. ศักดา ธนิตกุล, กฎหมายและแนวคำตัดสิน: องค์กรการค้าโลกกับสิ่งแวดล้อม (กรุงเทพฯวิญญูชน, 2553) หน้า 1-85. 7. สมชาย ปรีชาศิลปกุล, นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549) ใน บทที่ 8 ภาระการพิสูจน์ หน้า 169-184 และ บทที่ 10 สิทธิชุมชน หน้า 203-222. 8. สุนทรียา เหมือนพะวงศ์, “ศาลสิ่งแวดล้อม: กระบวนการสร้างความยุติธรรมทางด้านสิ่งแวดล้อม” วารสารศาลยุติธรรมปริทัศน์ (มิถุนายน 2550). หน้า 3-32. Chapter I Introduction
Chapter I Introduction Law and Environment เรากำลังจะเรียนวิชาอะไร? วิชากฎหมายกับสิ่งแวดล้อม ต่างกันอย่างไรกับ “กฎหมายสิ่งแวดล้อม” กฎหมายสิ่งแวดล้อม ได้แก่กฎหมายอะไรบ้าง? พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2535 พรบ.ป่าไม้ 2484, อุทยานแห่งชาติ 2504, ป่าสงวน 2507 พรบ.อาหาร 2522, พรบ.วัตถุอันตราย 2535 กฎหมายกับสิ่งแวดล้อม กว้างกว่านั้น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม อะไรคือสิ่งแวดล้อม? Chapter I Introduction
การมองระบบการผลิตทั้งหมดในสังคม 10/12/2018 การมองระบบการผลิตทั้งหมดในสังคม Story of stuff http://www.youtube.com/watch?v=9GorqroigqM ภาคภาษาไทย (3 ตอน) https://www.youtube.com/watch?v=mokb9gG0YmU https://www.youtube.com/watch?v=Gd4t6jJUBFY https://www.youtube.com/watch?v=XoTdJhOXuPE Subtitle Thai (มี 4 ตอน – ไปตามเอง หลังจากlink นี้) คำถาม – ดูแล้วได้อะไรบ้างที่เกี่ยวข้องและนำมาปรับใช้กับการศึกษาวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction
ความสำคัญของปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมกับกฎหมาย – ทำอย่างไร? 10/12/2018 กลุ่มการผลิตในสังคม Mode of Production 1 การเกษตร ชาวนา ทำไร่ ทำสวน รวมถึง ซีพี เบทาโกร มอนซานโต 2 อุตสาหกรรม โรงงาน 3 ภาคบริการ การท่องเที่ยว คมนาคมขนส่ง กลุ่มผู้บริโภคและเจ้าของทรัพยากร 4 ประชาชนที่ซื้อของอุปโภค บริโภค 5 ผู้อยู่อาศัย บ้านเรือน 6 ชุมชน หมู่บ้าน เมือง กลุ่มผู้บริหาร 7 รัฐบาล การบ้าน: เลือกกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ใน 7 กลุ่มข้างต้น แล้ววิเคราะห์ ถึงกลุ่มที่ตัวเองเลือกนั้น ว่าบทบาทของกลุ่มนั้นจะคิด/ทำอย่างไรในประเด็นต่อไปนี้ 1. กลุ่มของตนเอง ทำอะไร ที่กระทบต่อการใช้ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2. มีกฎหมายอะไรที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่กลุ่มของตนเองดำเนินการอยู่หรือไม่ อย่างไร? *** ส่งช้า หักวันละครึ่งคะแนนไปเรื่อยๆ (งานชิ้นนี้ 5 คะแนน) ส่งงานเลยกำหนด 10 วัน หลังจากนั้นจะเป็นติดลบไปจนกว่าจะส่งงาน ;) Chapter I Introduction
ความหมายของสิ่งแวดล้อม 10/12/2018 ความหมายของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมใน 2 แนวทาง ได้แก่ สิ่งรอบตัวเรา - อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน รวมไปถึงสุขภาพ และการใช้ชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ – สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ภูมิสภาพทางกายภาพ และสัตว์ พืช – ระบบนิเวศ กรณีกฎหมายสิ่งแวดล้อมอยู่ในขอบเขตของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม – “สิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี” อาจแบ่งได้เป็น 2 ด้าน คือ การจัดการทรัพยากร การจัดการมลพิษ Chapter I Introduction
สิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา พลังงาน การผลิต ทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจัย 4 ที่ดิน มลพิษ การจัดการสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์/ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การเมือง Chapter I Introduction
Chapter I Introduction ข้อพิจารณา การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มศักยภาพแก่คนในการใช้ชีวิตอยู่ เราต้องแลกกับอะไร เพื่อให้ได้ความสะดวกสบายนี้ !!! Chapter I Introduction
Chapter I Introduction ข้อพิจารณา Dirty Electricity https://www.youtube.com/watch?v=6CVLa_tRslY https://www.youtube.com/watch?v=xdtIPb3Veuw http://www.greenwavefilters.com/dirty-electricity/ Chapter I Introduction
มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา 10/12/2018 มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา เมื่อเราตื่นเช้ามา เปิดหน้าต่าง แล้วสูดหายใจลึกๆ – เราพบอะไร? อากาศ น้ำ แสง เสียง กลิ่น มลพิษทางแสง Clean food > ทำไมต้องกินด้วย? ทุกวันนี้เรากินอย่างไร? เพื่อสุขภาพ? นอกจากกินแล้ว เราใช้ชีวิตอย่างไร? Dirty Electricity > คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า วิถีชีวิตในโลกสมัยใหม่ การใช้ชีวิตของเรา ต้องใช้พลังงานเท่าไร? พลังงานมาจากไหน? ระบบการผลิตในสังคมปัจจุบัน ยาอันตราย prescription drugs > ระบบการจัดการน้ำ และที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยในการดำรงชีวิต Chapter I Introduction
มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา 10/12/2018 มิติต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา ปัจจัยต่อการมีชีวิต from basic needs to live สู่ปัจจัยต่อการใช้ชีวิต to life style คนเราสามารถใช้เทคโนโลยี เอาชนะธรรมชาติได้ จริงหรือ? ไม่มีน้ำ ฝนแล้ง เราทำอย่างไร? ทำฝนเทียม! สกัดน้ำจืดจากน้ำทะเล! Chapter I Introduction
What have we got from “the Story of Stuff”? 10/12/2018 ระบบการผลิตในสังคม – สิ่งของต่างๆ มาจากไหน และไปไหนต่อ ในสังคม มีวงจรของสิ่งของต่างๆ อยู่ 5 ประการ 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 2 การผลิต 3 การจำหน่าย กระจายสินค้า 4 การบริโภค 5 การกำจัดของเสีย Chapter I Introduction
What have we got from “the Story of Stuff”? 10/12/2018 เราใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลื้อง เมื่อวัตถุดิบ/ทรัพยากรธรรมชาติในแหล่งหนึ่งหมดไป ก็ย้ายฐานการผลิตไปที่แห่งใหม่ ทั้งหมดนี้เรียกว่า Material Economy > linear system – in a finite world! ระบบการผลิตที่เป็นเส้นตรง (เชิงเดี่ยว) บนโลกที่มีทรัพยากรอยู่อย่างจำกัด ในภาพของระบบการผลิต มีผู้คน ระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองอยู่ในระบบทางสังคมที่ซับซ้อน ที่ระบบรัฐบาลต้องจัดการให้เป็นธรรม แต่ในความจริงรัฐบาลรับใช้ใคร? Chapter I Introduction
1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 10/12/2018 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดสรรและกระจายการใช้ทรัพยากรของโลกอย่างไร ใครคือเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ และในระบบของสังคมมีการเข้าไปใช้ประโยชน์ในทรัพยากรนั้นๆอย่างไร เจ้าของพื้นที่ ดั้งเดิม เช่น ชนเผ่าพื้นเมือง ที่มีระบบการยังชีพแบบพอเพียง ไม่ถูกนับรวมอยู่ในระบบทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่เน้นการผลิต การบริโภค ดังนั้นเมื่อไม่มีการบริโภค ไม่มีการจับจ่ายใช้สอย ในระบบพาณิชยนิยม จึงไม่มีความหมายในระบบเศรษฐกิจ จึงถูกเอาเปรียบ และละเลย โดยระบบเศรษฐกิจ และการจัดการทรัพยากร Chapter I Introduction
1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ 10/12/2018 1 การสกัดเอาวัตถุดิบจากธรรมชาติ เมื่อเจ้าของพื้นที่ดั้งเดิมถูกแย่งทรัพยากรไป จึงต้องเข้าเมืองไปทำงาน เป็นลูกจ้าง ที่ขาดอำนาจต่อรอง และถูกเอาเปรียบ ในระบบการผลิต ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลง ความหลากหลายทางชีวภาพหมดไป Renewable resource! ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น พีชและสัตว์ สามารถสร้างขึ้นได้ใหม่ แต่ในภาวะหนึ่งเท่านั้น Inbreeding ภาวะการผสมพันธุ์ของสัตว์ที่ต้องผสมข้ามสายเลือด ไม่เช่นนั้นสายพันธุ์จะอ่อนแอลง Extinction of wildlife ศักยภาพของการสืบพันธุ์ของพืชและสัตว์ จะอยู่ในระดับที่ไม่อาจดำรงสายพันธุ์ได้ตามธรรมชาติอีกต่อไป - กฎของดาร์วิน Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 2 การผลิต การผลิตที่ต้องลดต้นทุน และคุ้มทุน กดขี่ค่าแรง ลดสวัสดิการ ใช้แรงงานถูก ทรัพยากรราคาถูก กฎหมายอ่อน-ดึงดูดการ “พัฒนา” การลดต้นทุน อย่างหนึ่งคือการผลักภาระต้นทุนสู่ภายนอก externalized cost! เช่น ทิ้งน้ำเสียโดยไม่ต้องบำบัด ใครจ่ายต้นทุนที่แท้จริง? สังคม คนที่ไม่มีอำนาจต่อรอง ถ้าคนมีทางเลือก หรือมีอำนาจต่อรองก็ไม่ต้องตกอยู่ในภาวะเสียเปรียบแบบนี้ ระบบการผลิต ล้วนแต่ผลาญทรัพยากร ก่อมลพิษในกระบวนการผลิต และสร้างขยะ/ของเสีย การผลักภาระการจัดการมลพิษไปที่อื่น – ท้ายสุดก็วนกลับมาถึงตัวเอง มลพิษไร้พรมแดน Chapter I Introduction
3 การจำหน่าย กระจายสินค้า 10/12/2018 3 การจำหน่าย กระจายสินค้า การกระจายสินค้า การกระตุ้นการจับจ่าย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจการผลิดสินค้า ต้องกระตุ้นการบริโภค ทำอย่างไรให้คนซื้อมากขึ้น – ทำให้สินค้าราคาถูก การโฆษณา ทำให้คนซื้อของ การขายสินค้าราคาถูกได้ คือไม่ใช่การขายสินค้าตามต้นทุนการผลิดอย่างแท้จริง ผลักภาระให้แก่คนในระบบการผลิต โดยการกดขี่ค่าแรง เอาทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศโลกที่สาม เอาเปรียบคนงาน เช่นกรณี Walmart Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 4 การบริโภค เศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลก นโยบายของรัฐในการกระตุ้นการบริโภค เพื่อส่งเสริมการผลิต การผลิตที่ตกต่ำ คนตกงาน ทำให้รัฐบาลอยู่ไม่ได้ ในการกระตุ้นการผลิต ใครได้ประโยชน์ที่แท้จริง? การกระตุ้นการบริโภคโดยตั้งใจ – วางแผน/นโยบาย การผลิตสินค้า ให้เสียในอัตราที่ผู้บริโภคยังไว้วางใจซื้อสินค้านั้นอยู่ Designed for the dump การตลาดที่ทำให้เกิดแฟชั่น ทำให้คนต้องซื้อของเพื่อความทันสมัย กระตุ้นความอยากบริโภค ทั้งที่ไม่จำเป็น Perceived obsolescence Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 5 การกำจัดของเสีย การผลิตและการบริโภค ล้วนแต่ก่อขยะ การกำจัดขยะโดยการฝังกลบ หรือเผา ล้วนแต่ก่อมลพิษ โดยเฉพาะขยะพิษ ขยะอีเลคโทรนิค วิธีการลดขยะ reduce reuse recycle การรีไซเคิลมีข้อจำกัด วัฒนธรรมการจัดการกับขยะ Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 10/12/2018 วิธีคิดแบบใหม่ การผลิตแบบเชิงซ้อน ระบบนิเวศและคนไม่อาจแยกจากการผลิต การนำความคิดแบบวัฎจักรมาใช้ การทำแบบปัจเจก การผลักดันเชิงระบบ Chapter I Introduction
ประเภทของกลุ่มต่างๆที่จัดการสิ่งแวดล้อม 10/12/2018 Anthropo-centric Anthropology – มานุษยวิทยา มนุษย์คือศูนย์กลาง จากนิยามของการอนุรักษ์ – การใช้อย่างฉลาด the wise use เพื่อให้เรามีทรัพยากรไว้ใช้อย่างไม่รู้จบ และจะได้มีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข Eco-centric Ecology – นิเวศวิทยา มองว่าคนเป็นตัวการของการทำลายโลก ดังนั้นหากหยุดกิจกรรมที่ผลาญโลกได้ โลกจะฟื้นตัว ระบบนิเวศจะสามารถจัดการให้คืนสู่สภาพที่สมดุล ดังนั้นคนต้องออกไป – คนอยู่กับป่าได้หรือไม่? Chapter I Introduction
ประเภทของกลุ่มต่างๆที่จัดการสิ่งแวดล้อม 10/12/2018 Techno-centric Technology พวกที่เชื่อว่าวิทยาการสามารถจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ เช่น ระบบการบำบัดน้ำเสีย ใช้กังหัน ตีน้ำเพิ่มออกซิเจน เติมสารอีเอ็มลงในคลอง เพื่อให้จุลลินทรีย์ บำบัดน้ำเสีย (โดยไม่ต้องปรับแก้ชุมชนริมคลอง) เพิ่มแหล่งพลังงาน (โดยไม่ต้องทบทวนการใช้พลังงานอย่างประหยัด) สร้างเขื่อน (โดยมีระบบไฮโดรลิค ยกเรือขนสินค้าขึ้น/ล่องลำน้ำได้ มีกระไดปลาโจน) https://www.youtube.com/watch?v=b8cCsUBYSkw https://www.youtube.com/watch?v=pAUqodcXyWQ ทั้งสามแนวคิดนี้ หากกระทำแบบสุดขั้ว ย่อมเกิดผลร้ายมากกว่าผลดี ต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction
Chapter I Introduction
สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย 10/12/2018 สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย กฎหมายเข้ามากำหนดกติกาว่าอย่างไรบ้าง? สังคมเป็นผู้กำหนดกติกา สังคมคิดอย่างไร – ออกกติกาเพื่อรองรับแนวคิดของตนเอง ปัญหาคือ แต่ละส่วนมีอำนาจ พลังมากพอที่จะกำหนดกติกานั้นหรือไม่อย่างไร หรือสังคมถูกทำให้คิด/เชื่ออย่างไร แล้วนักกฎหมายควรทำอย่างไร? Chapter I Introduction
Techniques of Environmental Law 1 Direct or "Command and Control" 2 Self-Regulation 3 Provision of Environmental Information & Education 4 Judicial Review & Citizen Suit 5 Environmental Protection through Property Rights Chapter I Introduction
1 Direct or "Command and Control" รัฐเป็นผู้ดูแล หรือ อำนวยการ ในการรักษา เช่น การรักษาความสะอาด การกำจัดของเสีย การออกระเบียบในการควบคุม และมีสภาพบังคับ เช่น พรบ.อุทยานแห่งชาติ ห้ามกระทำการที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่งมีชีวิต พรบ.โรงงานอุตสาหกรรม ในการควบคุมมาตรฐานการปล่อยของเสียจากโรงงาน พรบ.อาหาร, พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค การมีฉลาก และควบคุมส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ พรบ.มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม Chapter I Introduction
Chapter I Introduction 2 Self-Regulation การกำหนดกฎเกณฑ์ ในสภาพแวดล้อมในชุมชน เช่น การรักษาแม่น้ำ ลำคลอง การกำหนดกติกาขึ้นมาใช้ในชุมชน – ตามแนวคิดของสัญญา (ข้อตกลงร่วมกัน – แนวคิด ถ้าไม่มีกฎหมายห้ามไว้ ประชาชนย่อมมีอำนาจกระทำการได้) Self-Regulation (การกำหนดกติกาที่ใช้ในชุมชน) & Self-Monitoring (การตรวจสอบดูแล) ปัญหาคือ เมื่อระเบียบของชุมชน ขัดต่อกฎหมายในระดับที่สูงขึ้นไป ทำอย่างไร? ตัวอย่างกติกาในการจัดการป่าชุมชน หลักการใช้บังคับกฎหมาย ระดับกฎหมายสูง-ต่ำกว่า สิทธิชุมชน พหุนิยมทางกฎหมาย legal pluralism ISO กับการกำหนดมาตรฐานการผลิต – เพื่ออะไร? Chapter I Introduction
การจัดการทรัพยกรของชุมชน Elinor Ostrom – Governing the Commons ระดับสากล ตัวบทบัญญัติ กฎหมายระหว่างประเทศ การบังคับใช้ เช่น การร้องเรียน การบอยคอต การค้า อย่างไม่เป็นทางการ - การเจรจาต่อรอง ระดับชาติ รัฐธรรมนูญ พรบ.ป่าไม้/อุทยาน การจับ ปรับ ย้ายออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – มติครม. การร่วมมือระหว่างรัฐกับชาวบ้าน ระดับชุมชน กติกาป่าชุมชน การไล่ออกจากพื้นที่ อย่างไม่เป็นทางการ – การซุบซิบนินทา การไม่คบหาสมาคม Chapter I Introduction
3 Provision of Environmental Information & Education การประกาศกฎเกณฑ์ทางสิ่งแวดล้อม การให้ความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ สุขภาวะ สิ่งแวดล้อม อาหาร/ของใช้ต่างๆ เช่นคลื่นจากโทรศัทพ์มือถือ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค การอบรม รณรงค์และเผยแพร่การแยกขยะ การมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม ต้องการข้อมูลข่าวสาร และความรู้เกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อตัวคน Chapter I Introduction
4 Judicial Review & Citizen Suit ระวังเรื่องนิติวิธี ของระบบกฎหมาย – การใช้กฎหมายในระบบกฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษร (ที่คำพิพากษาเป็นเพียงการตีความ และการบังคับใช้กฎหมายขององค์กรตุลาการ) กับระบบกฎหมายแบบ Common Law/ Case Law (ที่คำพิพากษาของศาลถือว่าเป็นที่มาหลักของกฎหมาย) การฟ้องคดี เพื่อสร้างบรรทัดฐาน ในการใช้กฎหมาย ข้อสังเกตสำคัญ – ในระบบกฎหมายไทย คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลผูกพันทุกองค์กร Chapter I Introduction
Chapter I Introduction การจัดประเภทของศาลเป็น 3 ศาล (ไม่รวมศาลทหาร) 1 ศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชน (รวมถึงสิทธิในสิ่งแวดล้อม การฟ้องหน่วยงานของรัฐ การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม) 2 ศาลปกครอง เพื่อเรียกร้องให้หน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่ในการดูแล รักษา ฟื้นฟูสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดำเนินการตามหน้าที่ซึ่งกฎหมายกำหนด 3 ศาลยุติธรรม ในการดำเนินคดีอาญา สำหรับผู้ละเมิดกฎหมายที่จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และสำหรับการเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง รวมถึงการงดเว้นกระทำการที่ละเมิดสิทธิในสิ่งแวดล้อม Chapter I Introduction
5 Environmental Protection through Property Rights การใช้สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในทรัพย์สิน มองได้ทั้งสองทาง เจ้าของกรรมสิทธิ์ มีอำนาจจะกระทำอย่างใดๆก็ได้ในทรัพย์สินของตนเอง (ตราบเท่าที่ไม่กระทบสิทธิของผู้อื่น) ในขณะเดียวกัน ก็มีข้อจำกัดกรรมสิทธิ์ – เรื่องเดือดร้อนรำคาญ Nuisance Zoning ผังเมือง Individual rights & collective rights Chapter I Introduction