บทที่ 14 พัลส์เทคนิค 31052002.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
Advertisements

X-Ray Systems.
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
INC 112 Basic Circuit Analysis
-- Introduction to Sequential Devices Digital System Design I
8086/8088 Chip Wannachai Wannasawade 8086/8088 Chip.
Register.
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip Flop ฟลิบฟล็อบ Flip Flop เป็น Multivibrator ชนิด Bistable คือ มี Output คงที่ 2 สภาวะ คำว่าคงที่ คือ คงอยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่งโดยไม่จำกัดเวลา จนกว่าจะมี
หลักสูตร หมวดวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมศาสตร์
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
Introduction to Analog to Digital Converters
Gate & Circuits.
บทที่2 แผนภาพ กระบวนการผลิต (Piping & Instrument Diagrams: P&ID)
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
Electronics for Analytical Instrument
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
4.2 โปรแกรมป้องกันการทำงานพร้อมกัน
เนื้อหารายวิชา Power System Analysis ปีการศึกษา 1/2549
Electrical Properties of Devices RLC. Electrical Properties ( คุณลักษณะทางไฟฟ้า ) Electrical PropertiesResistorCapacitorInductor Impedance (Z)Z R = X.
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือวัดดิจิตอล
เครื่องมือ 7 อย่างของคิวซี
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
เครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์
Flip-Flop บทที่ 8.
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
Introduction to Analog to Digital Converters
Interrupt & Timer.
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
บทที่ 10 พัลส์เทคนิค
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
แนวทางการปฏิบัติงานสอบบัญชี ปี 2561
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ระบบวิทยุกระจายเสียง
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 พฤษภาคม 2562
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
PERT Diagram.
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
Pulse Width Modulation (PWM)
บทที่ 8 พัลส์เทคนิค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 14 พัลส์เทคนิค 31052002

1. โครงสร้างและส่วนประกอบของ ไอซี เบอร์ 555 2. วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 3. วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 4. ตัวอย่างวงจรใช้งานไอซี เบอร์ 555

1. อธิบายโครงสร้างและส่วนประกอบของ ไอซี เบอร์ 555 2. อธิบายหลักการทำงานของวงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 ได้ 3. อธิบายหลักการทำงานของวงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ โดยใช้ไอซี เบอร์ 555 ได้ 4. ยกตัวอย่างวงจรใช้งานโดยใช้ไอซีเบอร์ 555 ได้

ส่วนประกอบวงจร (Schematic Diagram ) ของไอซี เบอร์ 555 ส่วนประกอบภายใน (Internal) ของตัวไอซีเบอร์ 555

รูปร่างและตำแหน่งขาของ ไอซี เบอร์ 555

ขา 1 กราวด์ ( Ground ) ขา 2 ทริกเกอร์ ( Trigger ) ขา 3 เอาต์พุต (Output) ขา 4 รีเซต (Reset) ขา 5 ขาควบคุมแรงดัน (Control Voltage) ขา 6 เทรสโฮส (Threshold) ขา 7 ดิสชาร์จ (discharge) ขา 8 ไฟเลี้ยง ( )

1. โมโนสเตเบิล (Monostable) 2. อะสเตเบิล (Astable) 3. ไบสเตเบิล (Bistable)

โมโนสเตเบิล (Monostable) ในโหมดนี้ การทำงานของ 555 จะเป็นแบบซิงเกิ้ลช็อต หรือวันช็อต (one-shot) โดยการสร้างสัญญาณครั้งเดียว ประยุกต์การใช้งานสำหรับการนับเวลา การตรวจสอบพัลส์ สวิตช์สัมผัส ฯลฯ

อะสเตเบิล (Astable) ในโหมดนี้ การทำงานจะเป็นออสซิลเลเตอร์ การใช้งาน ได้แก่ ทำไฟกระพริบกำเนิดพัลส์, กำเนิดเสียง, เตือนภัย ฯลฯ

ไบสเตเบิล (Bistable) ในโหมดนี้ ไอซี 555 สามารถทำงานเป็นฟลิปฟลอป (flip-flop) ถ้าไม่ต่อขา DIS และไม่ใช้คาปาซิเตอร์ ใช้เป็นสวิตช์ bouncefree latched switches เป็นต้น

ไอซี เบอร์ 555 นิยมใช้งานเป็นวงจรกำเนิดสัญญาณสี่เหลี่ยม และใช้เป็นไอซีตั้งเวลา การนำไอซี เบอร์ 555 ไปใช้งานจะใช้งาน 2 รูปแบบคือ โมโนสเตเบิล (monostable) อะสเตเบิล (Astable)

วงจรโมโนสเตเบิล เป็นวงจรมัลติไวเบรเตอร์ แบบหนึ่งซึ่งมีสถานการณ์ทำงาน 1 ครั้ง หรือบางครั้งเรียกว่า One Short Circuits หมายถึงทุกครั้งที่มีการกระตุ้นจากสัญญาณภายนอก สถานะการทำงานของวงจรจะเปลี่ยนไป แต่เพียงช่วงเวลาหนึ่งสถานะการทำงานจะกลับสู่สภาวะเดิม ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับค่า R C

การคำนวณหาค่าความถี่ และสัดส่วนความกว้างของรูปสัญญาณในส่วนที่มีพัลส์ (High) และส่วนที่ไม่มีพัลส์ (Low ) ของสัญญาณเอาต์พุต (Duty Cycle) ของวงจรอะสเตเบิล สามารถหาได้ดังนี้

วงจรเครื่องดนตรีเสียงออร์แกน

วงจรกริ่งประตู 2 เสียง

วงจรเสียงไซเรนยุโรป

IC เบอร์ 555 เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ เช่น สัญญาณ Square Wave, สัญญาณพัลส์ สัญญาณ ramp และวงจรตั้งเวลา ไอซีเบอร์ 555 เป็นอุปกรณ์วงจรรวมที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ อยู่ภายใน และมีส่วนที่ต้อง ต่อภายนอกเพื่อควบคุมการทำงาน และใช้งานเป็นลักษณะต่างๆ ซึ่งง่ายต่อการออกแบบ และง่ายในการสร้างสัญญาณพัลส์ความถี่ต่าง ๆ อีกทั้งสามารถเข้าใจการทำงานได้ง่าย