งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 พัลส์เทคนิค 31052002.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 พัลส์เทคนิค 31052002."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 พัลส์เทคนิค

2 ความหมายของวงจรมัลติไวเบรเตอร์ วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
การทริกเกอร์วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ การออกแบบวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ พัลส์เทคนิค

3 1. บอกความหมายของวงจรมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง
2. อธิบายหลักการทำงานของวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ ได้ถูกต้อง 3. บอกวิธีการทริกเกอร์วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง 4. ออกแบบวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง 5. ยกตัวอย่างการใช้งานวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง พัลส์เทคนิค

4 คำว่า Bi มีความหมายว่า “สอง” ส่วน Stable มีความหมายว่า “สถานะ ” ดังนั้นวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ เป็นวงจรมัลติไวเบรเตอร์ชนิดหนึ่งที่มีสภาวะการทำงาน 2 สถานะ บางครั้งเรียกว่า ฟลิบฟลอบ หรือวงจรไบนารี สถานะการทำงานจะเปลี่ยนแปลงได้จะต้องอาศัยการทริกเกอร์จากสัญญาณภายนอก พัลส์เทคนิค

5 วงจรมัลติไวเบรเตอร์ เป็นลักษณะวงจรสวิตช์สองวงจรต่อร่วมกัน โดยสัญญาณเอาต์พุตของสวิตช์ตัวที่ 1 จะไปควบคุมการทำงานของสวิตช์ตัวที่ 2 และสัญญาณเอาต์พุตของสวิตช์ตัวที่ 2 จะต่อมาควบคุมการทำงานของสวิตช์ตัวที่ 1 ลักษณะการทำงานของสวิตช์สองตัวนี้จะมีสภาวะตรงข้ามกันเสมอ ซึ่งสามารถเขียนเป็นบล็อกไดอะแกรมได้ดังรูป พัลส์เทคนิค

6 บล็อกไดอะแกรมที่แสดงลักษณะการทำงาน ของวงจรมัลติไวเบรเตอร์
พัลส์เทคนิค

7 พัลส์เทคนิค 31052002 วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์
วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ พัลส์เทคนิค

8 พัลส์เทคนิค

9 Astable; สถานะไม่คงที่ , ทำงานตลอดเวลา (Free Running)สถานะเอาต์พุตผลิตสัญญาณ รูปสี่เหลี่ยมที่สมมาตรหรือไม่สมมาตร (Symmetrical or Asymmetrical Square waves) Mono Stable; 1 สถานะ, หลังจากทริกเกอร์ สถานะเอาต์พุต ความถี่อินพุตเท่ากับความถี่เอาต์พุต (Frequency In = Frequency Out) Bi Stable; 2 สถานะ, T1 OFF, T2 ON or T1 ON, T2 OFF สถานะเอาต์พุตความถี่เอาต์พุตเท่ากับครึ่งหนึ่งของความถี่อินพุต ( is ½ of the Input. Triggered) พัลส์เทคนิค

10 พัลส์เทคนิค

11 ลักษณะวงจรการทริกเกอร์สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะวงจรการทริกเกอร์สามารถแบ่งได้ ลักษณะ คือ 1) วงจรทริกเกอร์แบบไม่สมมาตร (Asymmetrical Base Triggering) พัลส์เทคนิค

12 พัลส์เทคนิค

13 Frequency Out is ½ the Input.
2 Stable States; Frequency Out is ½ the Input. C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & K D4 D5 T24 T1 E Vcc BISTABLE: 2 stable states; Q3 on Q4 off, or Q4 on Q3 off. R12 & 15; Collector Load Resistors. R17 & 13; DC Base Bias for Q4. R14 & 16; DC Base Bias for Q3. C5 & 7; Quick Coupling Caps, Quick Change in conduction also enables Squaring of the waveform. R11 & 18; Provides a means of biasing CR4 & 5. R11 & C6; Forms a Differentiator Ckt, in conjunction w/ Cr4 enables the input trigger to change of state. R18 & C8; Forms a Differentiator Ckt, in conjunction w/ Cr5 enables the input trigger to change of state. Cr4 & Cr5; Steering Diodes, [See previous 2 entry's] Allows Neg pulse to change conduction of Q4 or 3, only 1 is biased a time to allow the change of conduction to take place. พัลส์เทคนิค

14 จนกว่ามีการทริกเกอร์อีกครั้ง. Frequency Out is ½ the Input.
4 Stable State; T1 On,T2 OFF จนกว่ามีการทริกเกอร์อีกครั้ง. C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & K D4 D5 T2 T1 E O 1 2 a b 3 Frequency Out is ½ the Input. พัลส์เทคนิค

15 Frequency Out is ½ the Input. หลังจากมีการทริกเกอร์.
C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & K D4 D5 Q4 Q3 E O 3 b 1 2 a RB FB Frequency Out is ½ the Input. สถานะของวงจร T2 On, T1 OFF หลังจากมีการทริกเกอร์. . 4 Wave Form พัลส์เทคนิค

16 Frequency Out is ½ the Input.
Q4 B Q3 B Frequency Out is ½ the Input. 440 KHz 440 KHz 220 KHz 220 KHz Q3 Q4 พัลส์เทคนิค

17 พัลส์เทคนิค

18 พัลส์เทคนิค

19 พัลส์เทคนิค

20 พัลส์เทคนิค

21 พัลส์เทคนิค


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 พัลส์เทคนิค 31052002.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google