ประชุมเตรียมการรับตรวจ การควบคุมภายใน ทร. ประจำปี งป.๖๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารโครงการ (Project Management)
Advertisements

ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6 ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ.
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
“Hazard Identification and Risk Assessment” การประเมินและการจัดการความเสี่ยง ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข นพ.สุรศักดิ์ เกษมศิริ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข.
ความเสี่ยง. 1. จากข่าวหนังสือพิมพ์และ TV พนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง ยักยอกเงินธนาคาร โดยแก้ไขตัวเลขในระบบงาน มูลค่า ความเสียหายประมาณ 500 ล้านบาท ทำให้ผู้บริหารต้อง.
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
Risk Management “Risk” “ ความเสี่ยง ” เหตุการณ์ / ประเด็นที่มีโอกาส เกิดขึ้นในอนาคตและจะส่งผลกระทบในแง่ลบต่อ การดำเนินการขององค์กร - ประเด็นที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแนวทางการ.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
KS Management Profile.
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
COSO Frameworks and Control Self-Assessment
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
การจัดการองค์ความรู้
Risk Management in Siam University
HOMEWORK # นายวิทยา ศรีอุดร SEC A.
Introduction to Social Protection
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Governance, Risk and Compliance
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน
นำแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด มาทบทวน
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
Click to edit Master title style
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
Risk Management in New HA Standards
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการ 1 อำเภอ 1 สหกรณ์การเกษตรในโครงการ จะมีสหกรณ์ทั้งหมด
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
การประเมินความเสี่ยง Risk Assessment
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
การวางแผนงานสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมเตรียมการรับตรวจ การควบคุมภายใน ทร. ประจำปี งป.๖๑ วันอังคารที่ ๖ มี.ค. ๖๑ เวลา ๐๙๓๐ - ๑๒๐๐ ณ ห้องประชุม สลก.ทร.

ระเบียบวาระการประชุม วาระที่ ๑ ประธานกล่าวเปิดการประชุม 1 วาระที่ ๒ เลขาฯ ชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจแนวทาง การปฏิบัติการตรวจสอบภายในของหน่วยต่าง ๆ 1 วาระที่ ๓ ที่ประชุมร่วมกันพิจารณา แนวทางการปฏิบัติ และปัญหาอุปสรรค/ข้อขัดข้องในปี งป.ที่ผ่านมา 1 วาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ

วาระที่ ๑ ประธานกล่าวเปิดการประชุม

วาระที่ ๒ เลขาฯ ชี้แจงและซักซ้อมความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติการตรวจสอบภายในของหน่วย ๑. รับทราบปัญหาในระดับ ทร. และ นขต.ทร. ๒. แนวทางการปฏิบัติการสอบทานฯ ๓. กำหนดการไปสอบทานฯ หน่วยต่าง ๆ ในปี งป.๖๑

ผลลัพธ์ที่ต้องการจากการประชุมในครั้งนี้ รับทราบปัญหาในระดับ ทร. และ นขต.ทร. แนวทางการปฏิบัติการสอบทานฯ กำหนดการไปสอบทานฯ หน่วยต่าง ๆ ในปี งป.๖๑ ทบทวนความรู้การประเมินความเสี่ยง(วาระที่ ๔ เรื่องอื่นๆ) ๔.๑ ระบุความเสี่ยง ๔.๒ วิเคราะห์ความเสี่ยง ๔.๓ การจัดการความเสี่ยง

เอกสารอ้างอิงประกอบการประชุม คำสั่ง ทร. (เฉพาะ) ที่ 868/2557 ลง 16 ธ.ค.57 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลและจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ทร. กฎบัตรการตรวจสอบภายใน กองทัพเรือ กระทรวงกลาโหม วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ จร.ทร. ลง 24 มิ.ย.51 คู่มือการประเมินผลและการจัดทำรายงานการควบคุมภายในกองทัพเรีอ พ.ศ.2557 ขั้นตอนซักซ้อมการควบคุมภายในประจำปี งป.๖๑ ของ สปช.ทร./คณะทำงานติดตาม ประเมินผลและจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ทร. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA พ.ศ.๒๕๕๘ คำสั่ง จร.ทร. (เฉพาะ) ที่ ๑๔๙/๒๕๖๐ ลง ๒๕ ต.ค.๖๐ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภายในกองทัพเรือ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ อนุมัติแผนการตรวจสอบภายในหน่วยต่าง ๆ ภายใน ทร. ปี งป.๖๑ ลง ๒๕ ต.ค.๖๐

เอกสารที่แจกจ่ายให้กับผู้ร่วมประชุม ๑. ซ้อมความเข้าใจการจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ประจำปี งป.๖๑ ของ สปช.ทร. ๒. เอกสารสรุปเนื้อหาของการควบคุมภายใน ประกอบการ บรรยายของ จร.ทร. ในห้วงเดือน พ.ย.๖๐ – ม.ค.๖๑ พร้อมตัวอย่างแบบฝึกหัด – ฐท.สข.ทรภ.๒/ ฐท.พง.ทรภ.๓

ประเด็นคำถาม / ปัญหาที่ตรวจพบของ สปช.ทร. ในปีที่ผ่านมา ๑. การควบคุมภายในที่กำหนด มีการปฏิบัติจริงหรือไม่ และ สามารถลดความเสี่ยงตามที่ระบุไว้หรือไม่ ๒. การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่ ได้รับผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดหรือไม่ และมีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพหรือไม่ ๓. วิธีการปรับปรุงแก้ไขความเสี่ยงหรือจุดอ่อนที่พบ มีความ เหมาะสม สามารถปฏิบัติได้จริงหรือไม่ และประโยชน์ที่ได้รับ คุ้มค่าเมื่อเทียบกับต้นทุนที่ต้องเสียไปจากการดำเนินการ หรือไม่ ๔. การระบุความเสี่ยง เป็นความเสี่ยงที่แท้จริงของหน่วยงาน หรือไม่ ๕. กิจกรรม วัตถุประสงค์ ความเสี่ยง และการปรับปรุงการ ควบคุมความเสี่ยงไม่สัมพันธ์กัน ๖. การระบุความเสี่ยง ยังมีการนำข้อจำกัด เรื่อง คน งบประมาณ มาเป็นความเสี่ยง ๗. ขาดความเข้าใจในการกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ๘. การจัดทำรายงานยังส่งล่าช้า เป็นปัญหาในการดำเนินการ จัดทำในภาพรวม ทร. ๙. ปัญหาการจัดทำรายงานของหน่วยย่อยของ นขต.ทร.

แนวทางการปฏิบัติ ๑. การประชุมเตรียมการก่อนการรับตรวจ(๓๐ วันล่วงหน้า) ๒. การไปตรวจ ณ หน่วยรับตรวจ

หัวข้อเตรียมการรับตรวจ ๑. วันที่หน่วยมาร่วมประชุมเตรียมการรับตรวจ หน่วยรับตรวจส่งเอกสารการควบคุมภายในปี งป.๖๐ ในวันประชุมเตรียมการ ดังนี้ ๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดวางระบบการควบคุมภายใน ๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผล และจัดทำรายงานควบคุมภายใน ๓. แบบสอบถามการควบคุมภายใน ๗ ด้าน (กำลังพล การข่าว ยุทธการ การส่งกำลังบำรุง การสื่อสาร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ กิจการพลเรือน) ๔. แบบประเมินองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน ๕. แบบประเมินการควบคุมภายใน (แบบ ปม.) ๖. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) ๗. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๒) ๘. รายงานผลการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (๖ ,๑๒ เดือน) ๙. สำเนาแผนปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วย

หัวข้อเตรียมการรับตรวจ ๒. การไปตรวจ ณ หน่วยรับตรวจ หน่วยรับตรวจดำเนินการดังนี้ ๒.๑ การบรรยาย - ภารกิจ/พันธกิจของหน่วย - วิธีการ/ขั้นตอนประเมินความเสี่ยง (ระบุ/ วิเคราะห์/ จัดการความเสี่ยง) ตามที่ระบุไว้ใน แบบ ปย.๒ ปี งป. ๖๐ ๒.๒ การปฏิบัติการควบคุมภายใน ตามกิจกรรมตามที่ระบุไว้ใน แบบ ปย.๒ ปี งป. ๖๐

แผนการสอบทานการควบคุมภายใน ประจำปี งป.๖๑ ( ระหว่าง พ.ค.-ส.ค.๖๑) จำนวน ๗ ด้าน นขต.ทร. (ยกเว้น สง.ปรมน.ทร.) กปช.จต. และ นรข.

แผนการดำเนินงานในปี งป.๖๑ เดือน จำนวนหน่วย นขต.ทร. หมายเหตุ พ.ค. ๑๑ สลก.ทร. สบ.ทร. สสท.ทร. กง.ทร. สตน.ทร. สธน.ทร. อล.ทร. พร. วศ.ทร. สวพ.ทร. และ นรข. มิ.ย. ๘ ยก.ทร. สยป.ทร. ทรภ.๒ ทรภ.๓ กรม สห.ทร. ชย.ทร. อศ. และ รร.นร. ก.ค. ๗ กพ.ทร. สปช.ทร. ฐท.กท. ขส.ทร. สก.ทร. ยศ.ทร. กปช.จต. ส.ค. ขว.ทร. กบ.ทร. กพร.ทร. กร. ทรภ.๑ นย. สอ.รฝ. ฐท.สส. อร. สพ.ทร. และ พธ.ทร.

เมษายน 2561 5 Slide1 จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 2 3 4 5 ประชุมเตรียมการก่อนการตรวจ เดือน พ.ค.๖๑ 6 หยุดวันจักรี 7 1 8 9 10 11 12 13 หยุดวันสงกรานต์ 14 15 16 หยุดชดเชย วันสงกรานต์ 17 หยุดชดเชย วันสงกรานต์ 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 Slide1

พฤษภาคม 2561 นรข. 22 สบ.ทร. สธน.ทร. วศ.ทร. สวพ.ทร. 4 สสท.ทร. สลก.ทร. จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 สบ.ทร. สธน.ทร. 2 3 วศ.ทร. สวพ.ทร. 4 ประชุมเตรียมการก่อนการตรวจ เดือน มิ.ย.๖๑ 5 6 7 8 9. สสท.ทร. สลก.ทร. 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 นรข. 23 24 25 สตน.ทร. กง.ทร. 26 27 28 แถลงผลการตรวจ อล.ทร. พร. 29 หยุดวันวิสาขบูชา 30 31 Slide1

มิถุนายน 2561 ทรภ.๒ 12 14 Slide1 1 กรม สห.ทร. ชย.ทร. อศ. รร.นร. จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 ประชุมเตรียมการก่อนการตรวจ เดือน ก.ค.๖๑ 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ทรภ.๒ 13 14 ทรภ.๓ 15 16 17 18 19. กรม สห.ทร. ชย.ทร. 20 21 22 อศ. รร.นร. 23 24 25 26 แถลงผลการตรวจ สยป.ทร. ยก.ทร. 27 28 29 30 Slide1

กรกฎาคม 2561 จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 2 3 4 5 6 7 1 8 9 10 ประชุมเตรียมการก่อนการตรวจ เดือน ส.ค.๖๑ 11 12 13 14 15 16 17 กพ.ทร. สปช.ทร. 18 19 20 ฐท.กท. สก.ทร. 21 22 23 24 25 กปช.จต 26 27 หยุดวันอาสาฬหบูชา 28 29 30 31 แถลงผลการตรวจ ขส.ทร. ยศ.ทร. Slide1

สิงหาคม 2561 อร. สอ.รฝ. กร. ทรภ.๑ ฐท.สส. นย. สพ.ทร. 14 15 16 2 ขว.กร. จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 2 ขว.กร. กบ.ทร. 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 หยุดชดเชย วันแม่แห่งชาติ 14 อร. สอ.รฝ. 15 กร. ทรภ.๑ ฐท.สส. 16 นย. สพ.ทร. 17 18 19 20 22 23 24 แถลงผลการตรวจ พธ.ทร. กพร.ทร. 25 26 27 28 29 30 31 Slide1

วาระที่ ๓ ที่ประชุมร่วมกันพิจารณาแนวทางการปฏิบัติ วาระที่ ๓ ที่ประชุมร่วมกันพิจารณาแนวทางการปฏิบัติ และปัญหาอุปสรรค/ข้อขัดข้องในปี งป.ที่ผ่านมา

วาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ๑. บรรยายการประเมินความเสี่ยง ๒ วาระที่ ๔ เรื่องอื่น ๆ ๑. บรรยายการประเมินความเสี่ยง ๒. แนวความคิดการปรับปรุง ควบคุมภายใน ในกรอบของ PMQA

สรุปองค์ประกอบการควบคุมภายใน - เป้าหมายในแต่ละองค์ประกอบ 1.สภาพแวดล้อมการควบคุม เพื่อให้เกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ และบรรลุตามเป้าหมาย OFC 2.การประเมินความเสี่ยง เพื่อทราบถึงความเสี่ยง และหาหนทางในการลดและ/หรือควบคุมความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 3.กิจกรรมการควบคุม เพื่อกำหนดนโยบาย มาตรการ กิจกรรมการควบคุมความเสี่ยง ให้กับกำลังพลของหน่วย นำไปปฏิบัติ 4.สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เพียงพอ ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และ สื่อสารให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง และทันเวลา 5.การติดตามและประเมินผล เพื่อสอดส่องดูแล และเปรียบเทียบผลการปฏิบัติ ที่ได้รับจากการจัดวางระบบควบคุมภายใน ซึ่งต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ

(อ่าน) ความเสี่ยงคือ เหตุการณ์ที่มีความไม่แน่นอน มีเยอะ แต่เป็นความไม่นอนซึ่งหากเกิดขึ้นแล้วจะมีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายขององค์กร

FUTURE ถ้าเกิดขึ้นแล้ว หรือกำลังเกิด เป็นปัญหา ต้องแก้แล้ว /นั่นไม่ใช่ความเสี่ยง ความเสี่ยงเป็นสิ่งที่ยังมาไม่ถึง แต่ถ้าปล่อยเดินไปเรื่อย ความเสี่ยงจะกลายเป็นปัญหา PRESENT

การประเมินความเสี่ยง

การระบุปัจจัยเสี่ยง ( Risk Identification)

การระบุปัจจัยเสี่ยง อะไรคือสาเหตุที่แท้จริง ที่ทำให้การดำเนินกิจกรรมไม่บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย การกระทำหรือเหตุการณ์ใดที่ขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคในการดำเนินกิจกรรมไม่ให้บรรลุผลสำเร็จ อะไรที่ทำให้เกิดความเสียหาย การสูญเปล่า การรั่วไหล หรือความผิดพลาด

วิธีคิดในการระบุความเสี่ยง แบบสอบถามที่กำหนด (ความเสี่ยงใหม่/ความเสี่ยงเดิม ที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา) องค์ประกอบมาตรฐานการควบคุม ๕ ด้าน กิจกรรมตามแผนปฏิบัติราชการ กระบวนการสร้างคุณค่า มว.๖ PM - PMQA กระบวนการสนับสนุน ข้อเสนอแนะของ จร.ทร./สตน.ทร.

สิ่งที่ไม่ควรระบุเป็นความเสี่ยง อาณัติ (Mandate) กฎระเบียบข้อบังคับ ในการปฏิบัติงาน ข้อจำกัดด้านงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรการบริหารจัดการ วิธีการแก้ไขปัญหา หรือ กลยุทธ์ อาทิ ขาดการประชาสัมพันธ์ การกระทำที่บ่งชี้ หรือแสดงถึงความบกพร่องในการปฏิบัติราชการ และก่อให้เกิดความสูญเสีย บางที่หน่วยไปเขียนว่าระเบียบเรื่องนี้เป็นความเสี่ยงของผม หรือคำสั่งอันนี้เป็นความเสี่ยงของผม /แบบนั้นเขียนเป้นความเสี่ยงไม่ได้ เพราะระเบียบ คำสั่งเค้าบอกอะไรก็ทำไปตามนั้น 35

การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis)

IMPACT FREQUENCY มาก น้อย มาก

การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) IMPACT FREQUENCY

ASRA การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) RISKS AVOID - SHARE - REDUCE - ACCEPT ทีนี่สมมุติกำหนด Risk ได้แล้ว ก็บริหารจัดการมันด้วย ASRA (AVOID /SHARE /REDUCE /ACCEPT) วิธีคิดคือถามว่าความเสี่ยงนี้ยอมรับได้ไหม ถ้าได้ก็จบเลย ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ใช้ AVOID /SHARE/REDUCE อย่างใดอย่างนึง หรือหลายอย่างรวมกันก็ได้ ตัวอย่าง รถหน้าต่อไป ASRA

ASRA ASRA

การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) ASRA ACCEPT REDUCE SHARE AVOID

แบบฝึกหัด ฐท.สข.ทรภ.๒ ภารกิจ ฐท.สข.ทรภ.๒ เป็น นขต.ของ ทรภ.๒ มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การสนับสนุน การส่งกำลังบำรุง การป้องกันพื้นที่ การรักษาความสงบเรียบร้อย และระเบียบวินัยของทหาร การสารวัตรทหาร การรักษาความปลอดภัย ฐานที่ตั้งหน่วยทหารและพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย การเรือนจำ การสวัสดิการ ตลอดจนให้การฝึกและศึกษาวิชาการตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมี ผบ.ฐท.สข.ทรภ.๒ เป็นผู้บังคับบัญชาหน่วย

เหตุการณ์สมมติที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจ/พันธกิจของหน่วย ๒.๓ ชาวบ้านในพื้นที่ จว.สงขลา ได้บุกรุกถากถางที่ดินของ ทร. ในพื้นที่เกาะแต้ว อ.เมืองสงขลา เพื่อทำการเกษตรโดยอ้างว่าตนมีเอกสารสิทธิ์ในการครอบครองที่ดินเพื่อทำกินอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งถือครองมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี พร้อมทั้งแสดงให้เห็นว่าหมู่บ้านและครอบครัวของชาวบ้านทั้งหมดประมาณ ๑๕ ครอบครัว มีสิ่งปลูกสร้างถาวร และมีการทำไร่ยางในพื้นที่ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี จึงไม่ใช่เป็นการบุกรุกที่ดินของ ทร. แต่อย่างใด จากกรณีดังกล่าวทำให้มีการรวมตัวของชาวบ้านอีกกลุ่มหนึ่งประมาณ ๑๐ ราย เตรียมการที่จะเข้าไปบุกรุกถากถางที่ดินของ ทร. เหมือนกับชาวบ้านกลุ่มแรก ซึ่งหากปล่อยไว้ชาวบ้านกลุ่มนี้จะเข้าไปบุกรุกได้อีก ระบุความเสี่ยง - ความเสี่ยงในการบุกรุกพื้นที่ของชาวบ้าน มีผลต่อภารกิจในการป้องกันพื้นที่

ผลกระทบของความเสี่ยง ผลกระทบต่อองค์กร ความเสียหาย ระดับคะแนน การใช้พื้นที่ สูงมาก ไม่สามารถใช้พื้นที่ในการปฏิบัติภารกิจได้อย่างสิ้นเชิง ๕ สูง ใช้พื้นที่ได้แต่ไม่ตอบสนองต่อภารกิจ ๔ ปานกลาง ใช้พื้นที่ได้เป็นบางส่วนตอบสนองต่อภารกิจ ๓ น้อย ใช้พื้นที่ได้ส่วนใหญ่ตอบสนองต่อภารกิจ ๒ น้อยมาก พื้นที่ยังใช้ได้ตอบสนองต่อภารกิจ ๑

โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความเสียง ความถี่ (เฉลี่ย) ระดับคะแนน การบุกรุกพื้นที่ สูงมาก มากกว่า ๑ ครั้ง/เดือน ๕ สูง ระหว่าง ๑ – ๖ เดือน/ครั้ง ๔ ปานกลาง ระหว่าง ๖ – ๑๒ เดือน/ครั้ง ๓ น้อย มากกว่า ๑ ปี/ครั้ง ๒ น้อยมาก มากกว่า ๒ ปี/ครั้ง ๑

การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis)

วิเคราะห์ความเสี่ยง ผลกระทบการใช้พื้นที่ = ๒ โอกาสการบุกรุก = ๔ ค่าความเสี่ยง = ผลกระทบ x โอกาส = ๔ x ๒ = ๑๒ นำค่าความเสี่ยงที่ได้ไปเปรียบเทียบในตารางแผนภูมิความเสี่ยง จะอยู่ในช่วงคะแนน ๙ – ๑๔ เป็นความเสี่ยงระดับสูง

ตารางการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ลำดับ ประเด็น ความเสี่ยง ที่มา วิธีจัดการ กิจกรรม การควบคุม ๑. การบุกรุกพื้นที่ แหล่งข่าว กระจายความเสี่ยง ให้ที่ดินอำเภอ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้านร่วมดำเนินการ ป้องกัน/ลดความเสี่ยง โดยการล้อมรั้ว และประชาสัมพันธ์ ยอมรับ ให้ชาวบ้านเข้ามาในพื้นที่ได้ จัดชุด ลว.รวมกับ หน่วยงานในพื้นที่ ๒. ติดตั้งรั้วลวดหนาม พร้อมป้าย ๓. จัดชุด ปจว. และ ปชส. ในพื้นที่

เหตุการณ์สมมติที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะกระทบต่อการปฏิบัติภารกิจ/พันธกิจของหน่วย ๒.๔ แหล่งข่าว ปปส.ได้รายงานว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่บริเวณเก้าเส้ง จว.สงขลา มีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยเป็นทั้งแหล่งพักพิงและแหล่งจำหน่ายรายใหญ่ในพื้นที่ภาคใต้ นอกจากนี้ จากการสุ่มตรวจเยาวชนในพื้นที่ ที่มีอายุระหว่าง ๑๘ - ๒๕ ปี คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ที่พบว่ามีปัสสาวะเป็นสีม่วง ทั้งนี้สิ่งที่น่าเป็นห่วง ในปัจจุบันคือเยาวชนเหล่านี้ ส่วนหนึ่งได้รับเรียกเกณฑ์เข้าเป็นทหารกองประจำการ ในส่วนของ ทบ. ทร. และ ทอ. และมีบางส่วนที่จะต้องมาประจำการอยู่ที่ หน่วยทหารของ ทร.ในพื้นที่ จว.สงขลา ระบุความเสี่ยง - ความเสี่ยงในการติดยาเสพติดของกำลังพล มีผลต่อการปฏิบัติภารกิจ

ผลกระทบของความเสี่ยง ผลกระทบต่อองค์กร ความเสียหาย ระดับคะแนน การปฏิบัติงานของกำลังพล สูงมาก กำลังพลไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างสิ้นเชิง ๕ สูง กำลังพลปฏิบัติงานได้แต่ไม่ตอบสนองต่อภารกิจ ๔ ปานกลาง กำลังพลบางส่วนปฏิบัติงานได้ตอบสนองต่อภารกิจ ๓ น้อย กำลังพลส่วนใหญ่ปฏิบัติงานได้ตอบสนองต่อภารกิจ ๒ น้อยมาก กำลังพลส่วนใหญ่ปฏิบัติงานได้บรรลุต่อภารกิจ ๑

โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง เปอร์เซ็นต์โอกาสที่จะเกิด ความเสียง เปอร์เซ็นต์โอกาสที่จะเกิด ระดับคะแนน ทหารที่ติดยาเสพติดจากจำนวนกำลังพล สูงมาก มากกว่า ๑๕ % ๕ สูง ๑๐ - ๑๔ % ๔ ปานกลาง ๕ - ๙ % ๓ น้อย ๓ - ๕ % ๒ น้อยมาก น้อยกว่า ๒ % ๑

การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis)

วิเคราะห์ความเสี่ยง ผลกระทบการปฏิบัติงานของกำลังพล = ๓ โอกาสทหารติดยาเสพติด = ๓ ค่าความเสี่ยง = ผลกระทบ x โอกาส = ๓ x ๓ = ๙ นำค่าความเสี่ยงที่ได้ไปเปรียบเทียบในตารางแผนภูมิความเสี่ยง จะอยู่ในช่วงคะแนน ๙ – ๑๔ เป็นความเสี่ยงระดับสูง

ตารางการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ลำดับ ประเด็น ความเสี่ยง ที่มา วิธีจัดการ กิจกรรม การควบคุม ๑. การติดยาเสพติดของกำลังพล แหล่งข่าว หลีกเลี่ยง ไม่รับกำลังพลที่ติดยาเสพติด กระจายความเสี่ยง ให้สัสดีดำเนินการ ป้องกัน/ลดความเสี่ยง มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ และตรวจตามวงรอบ ประสาน ศฝท.ยศ.ทร. ในการบรรจุกำลังพล ประสานสัสดีตรวจสอบก่อนการเกณฑ์ทหาร ส่งเสริมความรู้เรื่องยาเสพติด สุ่มตรวจสารเสพติดในกำลังพล

สรุปผลการประชุมสอบทานการควบคุมภายในหน่วยต่าง ๆ ใน ทร. วันอังคารที่ ๖ มี.ค. ๖๑ เวลา ๐๙๓๐ - ๑๒๐๐ ณ จร.ทร. ๑. รับทราบประเด็นปัญหาอุปสรรคฯทั้งในระดับ ทร. และ นขต.ทร. ที่จะขอให้ฝ่ายเลขานุการฯ (กบช.สงป.สปช.ทร.) พิจารณาปรับปรุงแก้ไข และพิจารณา ระดับ ทร. ๑. เวลา/กำหนดส่งรายงานผู้บริหาร ๒. ตัวชี้วัด-ค่าเป้าหมายในแต่ละด้าน ๓. แบบสอบถาม เพื่อประเมินความเสี่ยง ระดับ นขต.ทร. ๑. กิจกรรม วัตถุประสงค์ ความเสี่ยง และการปรับปรุงการควบคุมความเสี่ยงไม่สัมพันธ์กัน ๒. การระบุความเสี่ยง ยังมีการนำข้อจำกัด เรื่อง คน งบประมาณ มาเป็นความเสี่ยง ๓. ขาดความเข้าใจในการกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ๔. การจัดทำรายงานยังส่งล่าช้า เป็นปัญหาในการดำเนินการจัดทำในภาพรวม ทร. ๕. ปัญหาการจัดทำรายงานของหน่วยย่อยของ นขต.ทร. รับทราบประเด็นปัญหาอุปสรรคฯทั้งในระดับ ทร. และ นขต.ทร. ที่จะขอให้ฝ่ายเลขานุการฯ (กบช.สงป.สปช.ทร.) พิจารณาปรับปรุงแก้ไข และพิจารณา

๒. แนวทางการตรวจ และหัวข้อที่ขอให้หน่วยรับตรวจ พิจารณา/เตรียมการ ๑. ประชุมเตรียมการหน่วยรับตรวจก่อนการตรวจ ๑.๑ เชิญหน่วยรับตรวจประชุมเตรียมการ ณ จร.ทร. ล่วงหน้าก่อนเดือนตรวจ ๓๐ วัน ๑.๒ หน่วยรับตรวจส่งเอกสารการควบคุมภายในปี งป.๖๐ ณ วันประชุมเตรียมการ ดังนี้ ๑.๒.๑ คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดวางระบบการควบคุมภายใน ๑.๒.๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผล และจัดทำรายงานควบคุมภายใน ๑.๒.๓. แบบสอบถามการควบคุมภายใน ๗ ด้าน (กำลังพล การข่าว ยุทธการ การส่งกำลังบำรุง การสื่อสาร ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ กิจการพลเรือน) ๑.๒.๔. แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๑.๒.๕. แบบประเมินการควบคุมภายใน (แบบ ปม.) ๑.๒.๖. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) ๑.๒.๗. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย.๒) ๑.๒.๘. รายงานผลการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (๖ ,๑๒ เดือน) ๑.๒.๙. สำเนาแผนปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วย ๒. การไปตรวจ ณ หน่วยรับตรวจ ๒.๑ บรรยาย - ภารกิจ/พันธกิจของหน่วย - วิธีการ/ขั้นตอนประเมินความเสี่ยง (ระบุ/ วิเคราะห์/ จัดการความเสี่ยง) ตามที่ระบุไว้ใน แบบ ปย.๒ ปี งป. ๖๐ ๒.๒ การปฏิบัติการควบคุมภายใน ตามกิจกรรมตามที่ระบุไว้ใน แบบ ปย.๒ ปี งป. ๖๐ ๒. แนวทางการตรวจ และหัวข้อที่ขอให้หน่วยรับตรวจ พิจารณา/เตรียมการ

๓. กำหนดการไปสอบทานฯปี งป.๖๑ (พ.ค.-ส.ค.๖๑) และการประชุม เดือน ตรวจ หน่วย รับตรวจ กำหนดการประชุม ก่อนตรวจ พ.ค.๖๑ สลก.ทร. สบ.ทร. สสท.ทร. กง.ทร. สตน.ทร. สธน.ทร. อล.ทร. พร. วศ.ทร. สวพ.ทร. และ นรข. วันพฤหัสบดีที่ ๕ เม.ย.๖๑ มิ.ย.๖๑ ยก.ทร. สยป.ทร. ทรภ.๒ ทรภ.๓ กรม สห.ทร. ชย.ทร. อศ. และ รร.นร. วันศุกร์ที่ ๔ พ.ค.๖๑ ก.ค.๖๑ กพ.ทร. สปช.ทร. ฐท.กท. ขส.ทร. สก.ทร. ยศ.ทร. กปช.จต. วันศุกร์ที่ ๑ มิ.ย.๖๑ ส.ค.๖๑ ขว.ทร. กบ.ทร. กพร.ทร. กร. ทรภ.๑ นย. สอ.รฝ. ฐท.สส. อร. สพ.ทร. และ พธ.ทร. วันอังคารที่ ๑๐ ก.ค.๖๑