งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Introduction to Social Protection

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Introduction to Social Protection"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Introduction to Social Protection
HANDS-ON TRAINING COURSE HOW TO COST, FINANCE AND MONITOR SOCIAL PROTECTION SCHEMES? Thaworn Sakunphanit MD., BA. (Economic), MSc. (Social Policy Financing) 15 May 2012

2 One for ALL & All for ONE What is Social?
Source:

3 Concept of Social Protection is …
Improving or protecting human capital

4 What is Social Protection (SP)?
Traditional Definition: Public measures to provide income security for individuals such as active labor market policy, social insurance and social assistance. Source: Holzmann & Jorgensen (2000) Social Risk Management: A New Conceptual Framework for Social Protection and Beyond, Social Protection Discussion Paper No. 0006

5 Public interventions to provide support to the critically poor.
New Paradigm Public interventions to assist individuals, households, and communities better manage risk, and provide support to the critically poor. Source: Holzmann & Jørgensen (2000)

6 Sources of Risk Natural: Floods, Drought Health: Illness, Epidemic
Life-cycle: Birth, Old age, Death Social: Crime, War Economic: Unemployment, financial crisis Political: Riots, Coup d’état Environment: Pollution, Nuclear disaster Source: Holzmann & Jørgensen (2000)

7 Risk and their impact Incident Life-time intergeneration General
Life cycle risk Group risk

8 Actors in Social Risk management
Market Policy Strategies Social Network Family INFORMAL RISKS FORMAL Preventive Membership Institutions Public Authorities Mitigating Coping Source: Neubourg (2002) in ISSA (2002).Social Security in the global village

9 Risk Management Strategies
Prevention (Reduction) strategies Reduce the probability of risks. Mitigation strategies Decrease potential impact of future risks. Coping strategies Relieve the impact of risks once they have occurred Policy Instruments can be Correcting, Complementing or Substituting using Informal, Market-based or Publicly mandated arrangements Source: Holzmann & Jørgensen (2000), Neubourg (2002) in ISSA (2002).

10 Capacity of individuals, households or communities to handle risk depend on the characteristics of risk. Health: Life-cycle: Social: Economic: Political: Environment: Non-catastrophic Catastrophic Low frequency Repeated Uncorrelated Correlated Unbundle Bundle “Informal or market-based Risk Management instruments can often handle idiosyncratic risks, they tend to break down when facing highly covariate, macro-type risks.” Holzmann and Jorgensen (2000) Social Protection Unit, The World Bank

11 Asymmetric information gives rise to:
Moral hazard, Adverse selection; Increase Transaction costs; Non-exogenous risk from actors; Market failure Government failures

12 Final Remarks: Social Protection
Holistic view Balancing coping, mitigation and risk reduction strategies Building on comparative advantage of actors Matching interventions and risks

13 Social Policy Objective Law Regulation Norm Culture Ethics
Institutes Informal + Formal Governance Government Social Justice Independent vs Solidarity

14 ฐานคุ้มครองทางสังคม (Social Protection Floor)
ความคุ้มครองทางสังคมเป็นสิทธิของประชาชน มาตรา 22 ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1949 ILO convention 102 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย วิกฤตเศรษฐกิจ 2552 ทำให้สหประชาชาติมีมติให้ ผลักดันให้ทุกประเทศทำเรื่องฐานคุ้มครองทางสังคม

15 ข้อเด่นของ แนวคิดฐานคุ้มครองทางสังคม
เป็นสิทธิของทุกคน ชัดเจน: ทุกคน ระดับความคุ้มครอง ระบบบริการสุขภาพ บุคคล (residents) สามารถเข้าถึง ระบบบริการสุขภาพที่จำเป็นตามที่ประเทศกำหนด ระบบความมั่นคงทางรายได้ ทุกกลุ่มอายุ (เด็ก วัยแรงงาน และ ผู้สูงอายุ) ต้องได้ ความมั่นคงในระดับ เส้นความยากจนของประเทศ

16 Task 1: Saving for Old Age
Task 2: Family Role Task 3: Community Fund Task 4: Pension in Social Security Scheme

17 แบบฝึกหัดที่ 1: เงินออม
ฝากธนาคาร กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนเงินออมแห่งชาติ (กอช.)

18 แบบฝึกหัดที่ 1: เงินออม
กองทุนเงินออมแห่งชาติ (กอช.) จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนเดือนละ 100-1,000 บาท รัฐบาล จ่ายสมทบให้ตามช่วงอายุของผู้ออม บาท อายุ 60 ปี จะได้รับบำนาญตลอดชีพ คำนวณ เงินออม เมื่ออายุครบ 60 ปี ถ้าออมเดือนละ 1,000 บาท + รัฐ สมทบ 100 บาท อัตราผลตอบแทนร้อยละ 4 ตั้งใจว่าจะอยู่จนอายุครบ 100 ปี ต้องการบำนาญเดือนละ 6,000 บาท

19 แบบฝึกหัดที่ 3: กองทุนชุมชน

20 แบบฝึกหัดที่ 2: บทบาทครอบครัว
แบบฝึกหัดที่ 2: บทบาทครอบครัว จากครอบครัวตัวอย่าง พิจารณาความเสี่ยงที่เกิดขึ้นดังนี้ พ่อเสียชีวิต (FATHER DIES) พ่อพิการ (FATHER INVALID พ่อตกงาน (Father Unemploy) น้ำท่วม (Sever Flood)

21 แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ) กองทุนสัจจะออมทรัพย์มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคนและทำสวัสดิการภาคประชาชน เมื่อสมัครใจเป็นสมาชิก โดยออมวันละ 1 บาท จะได้รับสิทธิประโยชน์ 9 ประเภท รวมทั้ง สิทธิประโยชน์ชราภาพ (บำนาญ) การประเมินความยั่งยืนทางการคลัง โดยแบบจำลอง กำหนดให้ประชากรทั้งตำบล ทุกคนเป็นสมาชิกกองทุน โดยเก็บเงินสมทบวันละ 1 บาท และจ่ายบำนาญขั้นต่ำให้เดือนละ 300 บาทหลังจากที่จ่ายเงิน สมทบเกิน 15 ปีแล้ว ปัจจัยหลักที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาวะสมดุลของกระแสเงิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงประชากร การเปลี่ยนแปลงอัตราผลตอบแทนการลงทุน อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ และกฎเกณฑ์ของกองทุน เช่นเบี้ยประกัน การจ่ายบำนาญ

22 แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ) ผลการคาดการณ์สถานะทางการคลังของกองทุนตำบล ก
แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ) ผลการคาดการณ์สถานะทางการคลังของกองทุนตำบล ก

23 แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ) ผลการศึกษา
แบบฝึกหัดที่ 3 (ต่อ) ผลการศึกษา ระดับเงินสมทบที่ควรจะเป็น (General Average Premium) คือ บาท เงินสมทบในปัจจุบันของกลุ่มสัจจะลดรายจ่ายวันละบาทนั้นน้อยเกินไปกว่าที่ควรจะเป็นถึงเกือบประมาณหนึ่งในห้า

24 แบบฝึกหัดที่ 4: กองทุนประกันสังคม
การทบทวนด้านคณิตศาสตร์การประกันสำหรับสิทธิประโยชน์ชราภาพของกองทุนประกันสังคม องค์กรแรงงานระหว่างประเทศสำนักงานสาขาเอเชียตะวันออก พ.ศ. 2546

25 แบบฝึกหัดที่ 4: สิทธิประโยชน์ชราภาพ (บำนาญ )
เป็นบำนาญแบบกำหนดผลประโยชน์ (Define Benefit) ระดับบำนาญต่ำกว่ามาตรฐานของ ILO (ILO convention 102) การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์การประกัน วันที่เริ่มต้นการวิเคราะห์ 31 มกราคม 2545 (2002) ระยะเวลาคาดการณ์ประมาณ 90 ปี จาก 2003 – 2100 ทำการคาดการณ์รายจ่ายก่อน แล้วจึงคำนวณหารายรับ (เงินสมทบ)

26 ผลการวิเคราะห์ General Average Premium (GAP) จ่ายเฉลี่ยเท่ากันตั้งแต่ Scaled Premiums จ่ายเงินสมทบ เพิ่มแบบขั้นบันได

27 แบบฝึกหัดที่ 4 Scale Premium

28 แบบฝึกหัดที่ 4 Funding Ratio (Reserve Ratio) ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงอัตราและ เพดานเงินสมทบ

29 Q&A


ดาวน์โหลด ppt Introduction to Social Protection

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google