การออกแบบและการจัดผังร้านค้า สร้างทุนทางปัญญา พัฒนาคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม การออกแบบและการจัดผังร้านค้า Thonburi University
การออกแบบร้านค้า (Store Design) ลักษณะทางสถาปัตยกรรมและรูปแบบการตกแต่งร้านค้าปลีก เพื่อ แสดงให้ลูกค้าเห็นว่า ร้านค้าปลีกมีภาพลักษณ์อย่างไร การออกแบบร้านค้าปลีกควรคำนึง 3 ประการ คือ เพื่อปกป้องสินค้าและช่วยการจัดแสดงสินค้า ต้องสอดคล้องกับภาพลักษณ์ของร้านค้าที่กำหนดไว้ การออกแบบร้านต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่ทั้งหมด ของร้าน
ภาพรวมการออกแบบร้านค้า ปกป้องและจัดแสดงสินค้าภายในร้าน สอดคล้องกับภาพพจน์ คำนึงถึงประสิทธิภาพในการใช้พื้นที่ การออกแบบภายใน การออกแบบภายนอก Exterior Design ผังร้านค้า อุปกรณ์ที่ใช้จัดแสดงสินค้า การจัดแสดงสินค้า พื้นฝาผนัง สิ่งที่ลูกค้าเห็นก่อนเข้าร้าน รูปแบบทางสถาปัตถยกรรม เครื่องหมาย/ สัญญลักษณ์ หน้าต่างจัดแสดงสินค้า ทางเข้า สี แสง
องค์ประกอบที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบภายนอก รูปแบบทางสถาปัตถยกรรม 2. เครื่องหมายสัญญลักษณ์ 3. หน้าต่างจัดแสดงสินค้า
การออกแบบภายในร้านค้า (Interior Design) การสร้างบรรยากาศภายในร้านค้า การสื่อสารที่ลูกค้าสามารถมองเห็นได้ (Visual Communication) แสง (Lighting) สี (Color) เสียงดนตรี (Music)
การจัดผังร้านค้า (Store Layout) 1. Grid Layout การจัดผังที่มีลักษณะเป็นแถวๆ บังคับให้ลูกค้าเดินตามกำหนด นิยมใช้มากใน Supermarket 2. Loop Layout การจัดวางผังร้านที่ทำให้ลูกค้าสามารถเดินเลือกสินค้าแต่ละแผนก ภายในร้านได้ทั่วถึง 3. Free Form layout or Boutique Layout การจัดผังแบ่งเปนแต่ละ Shop จะมีสินค้าเฉพาะและการตกต่งตนเอง นิยมใช้กับ Department Store แผนกเครื่องสำอาง เครื่องแต่งกาย
หลักในการจัดทำแผนผังร้านค้า แนวคิดในการวางผังร้านค้าจะต้องตรงกับแนวคิดของธุรกิจนั้น ความสะดวก สามารถใช้พื้นที่ในร้านที่มีอยู่จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถสร้างผลกำไรหรือผลตอบแทนกับร้านค้ามากที่สุด ไม่มีมุมอับ จัดผังร้านให้ลูกค้าสามารถเดินได้ยาวที่สุดและอยู่ในร้านนานที่สุด โดยนำสินค้าเป็นตัวดึงหรือเป็นที่ต้องการไว้ด้านใน สินค้าที่มีความสัมพันธ์กันควรวางไว้ใกล้กัน เพื่อเพิ่มยอดขาย
การจัดทำแผนผังร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store layout) ประตูร้านค้า ลูกค้าสามารถเข้าร้านได้ง่ายที่สุด Cashier สามารถหันออกด้านที่ต้อนรับลูกค้า และมองเห็นลูกค้าได้มากที่สุด เคาน์เตอร์รายการสินค้าพิเศษ (Counter special item) สินค้าทั่วไป (General Merchandise) ห้องแช่เย็นและตู้แช่ ส่วนบริการลูกค้าสำหรับอาหารที่อุ่นไมโครเวฟ หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์
การวางสินค้าบนชั้นของร้านสะดวกซื้อ สินค้าจำเป็น (Demand Product) สินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ซื้อฉับพลัน ( Impluse Product) สินค้าที่เป็นของสดและหมดอายุเร็วหรือสินค้าที่หมุนวียนเร็ว (Fresh Food) สินค้าที่มีมูลค่าหรือสินค้าที่มีโอกาสสูญหายได้ง่าย สินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มสินค้าที่ใช้ประกอบกันหรือใช้ทดแทนกัน
การจัดแสดงสินค้า (Merchandise Displays) การจัดแสดงสินค้าที่ทำให้ประสบความสำเร็จ มีองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้ 1. Attract 2. Interest 3. Impress 4. Action
การจัดแสดงสินค้าในตู้โชว์หน้าร้าน (Windows Display) การจัดแสดงสินค้าที่ดีต้องสร้างบุคลิกของร้านและบรรยากาศที่เป็นมิตร เพื่อโน้มน้าวให้เกิดความรู้สึกภายในร้านยังมีสินค้าที่น่าสนใจอีกมากมาย ควรเปลี่ยนไปตามฤดูกาลและเทศกาล
สาเหตุที่ทำให้การจัดแสดงสินค้าไม่ได้ผล การนำสินค้ามาจัดแสดงมากเกินไปหรือ น้อยเกินไป ไม่มีหัวข้อในการจัดแสดง และเปลี่ยนแบบการจัดแสดงบ่อยไปหรือช้าไป การมีสินค้าหลากหลายชนิดมาจัดแสดงมากเกินไป และการจัดวางไม่ได้สัดส่วน
ตำแหน่งที่จัดแสดงสินค้า สามารถแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การจัดแสดงสินค้าในตู้โชว์หน้าร้าน (Windows Display) การจัดแสดงสินค้าภายในร้าน (Interior Display)
1. การจัดแสดงสินค้าในตู้โชว์หน้าร้าน (Windows Display) แบ่งตามลักษณะตู้ มี 3 ประเภทดังนี้ ตู้โชว์แบบแบนราบ (Single Display) ตู้โชว์แบบมุม (Corner Display) ตู้โชว์แบบเกาะ (Island Display)
2. การจัดตู้โชว์หน้าร้านตามลักษณะของสินค้าและโอกาส ตู้โชว์สินค้าตามเทศกาล (Seasonal Window) ตู้โชว์สินค้าอย่างเดียว (One Item Window) ตู้โชว์สินค้าที่สัมพันธ์กันเป็นชุด (Related Merchandise in theme Windows) ตู้โชวืสินค้าตามประเภท (Line of Goods Window) ตู้โชว์ในวาระพิเศษ (Feature Window)