การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents,

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครเมี่ยม (Cr).
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
COMPETENCY DICTIONARY
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
โครงการกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบี จากแม่สู่ลูก
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
เป้าหมายโภชนาการระดับโลก พ.ศ.2568 (WHA Global Nutrition Targets 2025)
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การยุติการถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป พญ รังสิมา โล่ห์เลขา Chief, HIV Prevention and Care among Children, Adolescents, and Family Section Global AIDS Program Thailand/Asia Regional Office CDC Southeast Asia Regional Office

Outlines triple EMTCT (HIV, syphilis, hepatitis B) ในประเทศไทย ข้อแนะนำจาก WHO เรื่อง EMTCT of HBV สถานการณ์ในไทยและก้าวต่อไป

WHO plans for triple elimination MTCT Elimination MTCT of HIV, syphilis and HBV

The maternal-child health service can serve as a platform for EMTCT of more than HIV and syphilis Test and Treat women with ART Provide ARV prophylaxis to infants and appropriate infant feeding Syphilis Test and treat pregnant women with single dose B-penicillin Prophylaxis to exposed infant HBV Test and ?treat with TDF Give birth dose Hepatitis B vaccine to the infant

สถานการณ์โรคตับอักเสบบีในไทย คาดการณ์ว่า คนไทยประมาณ 5 ล้านคน ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และจากสถิติในอดีตพบว่าใน 100 คนจะมีผู้ที่เป็นพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบีอยู่ 8-10 คน คนที่เป็นพาหะนั้นไม่ได้เป็นโรค ไม่มีอาการเจ็บป่วย เพียงแต่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบบีซ่อนตัวอยู่ใน ร่างกายและสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี เกือบร้อยละ 30 จะมีโอกาสพัฒนาเป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็งและ มะเร็งตับ และมีอัตราเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งตับมากกว่าคนปกติถึง 223-250 เท่า ประเทศไทยมีการคัดกรอง HBsAg ในหญิงตั้งครรภ์ตามมาตรฐานมานานกว่า 30 ปี แต่ยังไม่มี ข้อมูลระดับประเทศว่าความครอบคลุม ของการคัดกรองและร้อยละเท่าไรของหญิงตั้งครรภ์เป็น พาหะตับอักเสบบี การติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อตับอักเสบบีและทารกยังไม่มีข้อแนะนำที่ชัดเจนว่าควรติดตามแม่ อย่างไร แม้จะแนะนำการให้วัคซีนในทารกแต่การติดตามผลลัพธ์การรักษาในทารกมีการปฏิบัติที่ หลากหลายในแต่ละพื้นที่

Stopping Transmission

Stopping Transmission

ร้อยละความครอบคลุมวัคซีนในเด็กไทย 1-2 ปี (สำรวจ 2551) กรมควบคุมโรค 2551

ร้อยละของการให้วัคซีนตับอักเสบบีไม่ถูกต้อง ในเด็กไทย 1-2 ปี (สำรวจ 2551) กรมควบคุมโรค 2551

EMTCT of HIV, syphilis, (HBV Draft 2017)   ELIMINATION HIV Syphilis HBV ? IMPACT criteria Incidence ≤ 50 cases per 100,000 live births MTCT rate < 2% or < 5% in breastfeeding populations O.1% HBsAg prevalence among children (Global Strategy) ? MTCT <2% (Regional Action Plan) ? PROCESS criteria 1st ANC coverage ≥ 95% Testing coverage ≥ 95% ART coverage ≥95% Testing coverage ≥ 95% Treatment coverage >95% ANC coverage? Testing coverage? treatment for mothers? Birth dose and follow-on series ≥ 95%

1 A threshold of ≥2% or ≥5% seroprevalence was based on several published thresholds of intermediate or high seroprevalence. The threshold used will depend on other country considerations and epidemiological context. 2 Many countries have chosen to adopt routine testing in all pregnant women, regardless of seroprevalence in the general population, and particularly where seroprevalence ≥ 2%. A full vaccination schedule including birth dose should be completed in all infants, in accordance with WHO position paper on Hepatitis B vaccines 2009 WHO 2016

Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (I) WHO 2016

Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (II) WHO 2016 Abbreviations: RDT: rapid diagnostic test; ALT: alanine aminotransferase; APRI: aspartase aminotransferase-to-platelet ratio index; TE: Transient elastography;

Summary algorithm for diagnosis, treatment and monitoring of chronic HBV infection (III) HCC: Hepatocellular carcinoma; AFP: Alpha fetoprotein WHO 2016

WHO guidelines for hepatitis B March 2015

MTCT of HBV ในประเทศไทย ประเทศไทยมีการคัดกรอง HBsAg ในหญิงตั้งครรภ์ตามมาตรฐานมานานกว่า 30 ปี แต่ยัง ไม่มีข้อมูลระดับประเทศว่าความครอบคลุม ของการคัดกรองและร้อยละเท่าไรของหญิง ตั้งครรภ์เป็นพาหะตับอักเสบบี ทารกที่คลอดจากแม่ที่เป็นพาหะตับอักเสบบีจะได้รับวัคซีน อย่างน้อย 3 โด๊สที่ แรกเกิด 1 เดือนและ 6 เดือน บางรายจะได้รับ HBIG ด้วย การติดตามทารกหลังคลอดว่ามีการติดเชื้อตับอักเสบบีหรือไม่ ยังไม่ได้ปฏิบัติกันแพร่หลาย และไม่ทราบอัตราถ่ายทอดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่สู่ลูก ควรเริ่มรวบรวมข้อมูลผลลัพธ์ของทารกจากการติดเชื้อตับอักเสบบีจากแม่ และจัดทำแนวทาง ในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อตับอักเสบบีที่ชัดเจน เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการรับรองการ ยุติการถ่ายทอด 3 โรคจากแม่สู่ลูกในอนาคต

กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค ได้จัดตั้งศูนย์ประสานงานโรคตับอักเสบจากไวรัสขึ้นมาเป็นการเฉพาะ เพื่อให้เป็นหน่วยงานที่ประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์กรวิชาชีพ และองค์กรอิสระหลายแห่ง เช่น สมาคมโรคตับ มูลนิธิโรคตับ สภากาชาดไทย สมาคมโรคเอดส์แห่งประเทศไทย เป็นต้น  มีนโยบายการจัดการปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบ 5 ด้าน คือ 1.การเฝ้าระวังโรค 2.การป้องกันควบคุมโรค 3. การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อที่ไม่ทราบสถานะของตน 4.การเร่งรัดให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาที่ เหมาะสม และ 5.การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคในอนาคต  กรมควบคุมโรค ได้ทบทวนระบบเฝ้าระวังโรคไวรัสตับอักเสบ และกำหนดกรอบแนวทางให้บูรณการร่วมกับ การเฝ้าระวังโรคที่มีช่องทางการติดเชื้อคล้ายๆกัน เช่น โรคเอดส์ และโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งคาดว่าจะ เริ่มนำร่องระบบการเฝ้าระวังในรูปแบบดังกล่าวได้ในปี 2559 นี้

Thank you for your attention