1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระขวัญชัย อิสฺสรธมโม(คำมา) นักศึกษาชั้นปีที่ 4 รหัส คณะศึกษาศาสตร์ เอกการสอนภาษาอังกฤษ.
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
Collaborative problem solving
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้ จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ

ที่มีสื่อแต่ไม่ได้ผลที่ดีขึ้น ครูสมศรีสร้างสื่อขึ้นมาตามความคิดของตนเอง โดยไม่สนใจความต้องการของนักเรียน มีการสร้างสื่อในรูปแบบเดิมๆ ควร เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการสร้างสื่อ สาเหตุการสอน ของครูสมศรี ที่มีสื่อแต่ไม่ได้ผลที่ดีขึ้น ในบางครั้งถ้าให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจาก สื่อเพียงอย่างเดียว อาจทำให้นักเรียน ไม่เกิดความเข้าใจ รูปแบบการสอนไม่ได้ฝึกให้นักเรียนได้เกิด กระบวนการคิดและควรมีการจำลองสถานการณ์ ให้นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา

2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดใน การออกแบบการสอนและสื่อการสอน ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว  มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความหมายของ “สื่อการสอน” สื่อ เป็นคำมาจากภาษาลาตินว่า “medium” แปลว่า “ระหว่าง” หมายถึง สิ่งที่บรรจข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งหรื่อผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เมื่อมีการนำสื่อมาสอน จึงเรียกว่า “สื่อการสอน” หมายถึง สื่อในการสอนไม่ว่าจะเป็น เทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพนิ่ง แผนภูมิ เป็นต้น ความหมายของ “สื่อการสอน”

เป็นการวางแผนการสอนโดยใช้วิธีระบบจุดเริ่มของ การออกแบบการสอน เป็นการวางแผนการสอนโดยใช้วิธีระบบจุดเริ่มของ การออกแบบการสอน ก็คือ การพิจารณาองค์ประกอบ ขั้นพื้นฐานของระบบและพิจารณาสภาพ ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน ดังนั้น การออกแบบระบบการสอนจึงต้องพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ด้วยการตอบคำถามสำคัญ 4 ประการ ดังนี้

โปรแกรมการสอนนี้ จะออกแบบสำหรับใคร จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ หรือเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด การออกแบบการสอน . ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้อะไร หรือมีความสามารถที่จะทำอะไรได้บ้าง เนื้อหาวิชาหรือทักษะต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะต้องศึกษาให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนนั้นจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดอย่างไร

การออกแบบการสอน (Instructional of Cognitive) Instructional design (ID) หมายถึง กระบวนการของการออกแบบ วัสดุการสอนและคำว่า Instructional design model (ID Model) หมายถึง รูปแบบหรือทฤษฎีที่เป็นแนวทางของกระบวนการการออกแบบการสอน สำหรับการออกแบบการสอนจะแบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้ ยุค ID 1 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavior) ยุค ID 2 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (cognitve)  ยุค ID 3 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์  (Constructivist)

การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavior) เน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยการเชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้า(Stimulus-คือสิ่งที่ทำให้เกิดพฤติกรรม) และการตอบสนอง (Response - ตัวพฤติกรรม) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม ผู้นำที่สำคัญของกลุ่มนี้ เช่น พาพลอฟ (Ivan Pavlov)ธอร์นไดค์ (Edward Thondike) และสกินเนอร์ (B.F Skinner) พื้นฐานความคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมคือสิ่งแวดล้อม และประสบการณ์จะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม

การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (cognitve) กลุ่มพุทธิปัญญา ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของผู้เรียน ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ที่มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการคิด หรือกิจกรรมทางสติปัญญาของมนุษย์ (Mental activities) โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พุทธิปัญญา (Cognitive) เป็นการให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่าง ๆ) กับสิ่งเร้าภายใน

การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ โดยคำนึงถึงกระบวนการคิด (cognitive process) ความรู้ความเข้าใจหรือกระบวนการรู้คิดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้เป็นทฤษฎี ที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีปัญญานิยมหรือพุทธินิยม (cognitivism) โดยเฉพาะ ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาน์ปัญญา (cognitive constructivism) ของ ยีน เพียเจต์ (Jean Piajet) และ ทฤษฎีบริบททางสังคม (social construcitvism) ของ วิก็อทสกี้ (Lev Vygotsky)

3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ

ในสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วครูควรปรับเปลี่ยน รูปแบบการสอนให้เข้ากับสภาพสังคมและต้องมีการสอนให้นักเรียน ได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีเหตุมีผลพร้อมทั้งควรมีการสร้าง สถานการณ์จำลองให้นักเรียนได้ฝึกในการแก้ปัญหา เพื่อนักเรียนจะได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และควรใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน

การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism) 1.  การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้าง จากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างสิ่ง ขึ้นแทนความรู้(Representation)ในสมองที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างขึ้น 2.  การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การเรียนรู้เป็นการแปลความหมายตามสภาพจริง (Real world) ของแต่ละคน" การเรียนรู้เป็นผลจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน  3.  การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทำ (Learning active) การเรียนรู้เป็นการที่ผู้เรียน ได้ลงมือกระทำซึ่งเป็นการสร้าง ความหมายที่พัฒนา โดยอาศัยพื้นฐานของประสบการณ์

การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (ต่อ) การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (ต่อ) 4.  การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) ความหมายในการเรียนรู้ เป็นการต่อรองจากแนวคิดที่หลากหลาย "การพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเอง ได้มาจากการร่วมแบ่งปันแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม 5.  การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated)ควรเกิดขึ้นในสภาพชั้นเรียนจริง (Situated or anchored) " การเรียนรู้ต้องเหมาะสมกับบริบทของสภาพจริงหรือสะท้อน บริบทที่เป็นสภาพจริง"  6.  การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็น การบูรณาการเข้ากับภารกิจการเรียน(Task) ไม่ควรเป็นกิจกรรมที่แยกออกจากบริบท การเรียนรู้ ซึ่ง" การวัดการเรียนรู้เป็นวิธีการที่ผู้เรียนใช้โครงสร้างความรู้เป็นเครื่องมือ ในการส่งเสริมให้เกิดการคิดในเนื้อหาการเรียนรู้

การเลือกสื่อ การดัดแปลง และการออกแบบสื่อ  การเลือกสื่อ การดัดแปลง และการออกแบบสื่อ (Select , Modify , or Design Materials ) การดัดแปลงสื่อที่ มีอยู่แล้ว ให้ใช้ได้ดีและเหมาะสม มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ย่อมขึ้นกับเวลา และงบประมาณ ในการดัดแปลงสื่อด้วย การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว สิ่งที่ผู้สอนต้องกระทำ ก็คือตรวจสอบดูว่า มีสิ่งใด ที่จะใช้เป็นสื่อได้บ้าง โดยเลือกให้ตรงกับ ลักษณะ ผู้เรียนและวัตถุประสงค์ การออกแบบผลิตสื่อใหม่ ถ้าสื่อนั้นมีอยู่แล้ว และตรงกับ จุดมุ่งหมายของ การเรียนการ สอน เรา

1.นางสาวอมรรัตน์ ผิวแดง รหัส 493050078 - 8 สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาวอมรรัตน์ ผิวแดง รหัส 493050078 - 8 2.นางสาวปรียาณัฐ ภูหงษ์ รหัส 493050370 - 2 3.นางสาวอภิญญา แสนวิชัย รหัส 493050396 - 4