การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

System Requirement Collection (2)
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
Software Development and Management
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การวางแผน IT และการพัฒนาระบบขององค์กร
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Example Analysis Project
บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ System Development Life Cycle
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 2 ความเข้าใจพื้นฐานของการพัฒนาระบบ .
Continuous Quality Improvement
SMS News Distribute Service
วิชา COMP342 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การติดตาม (Monitoring)
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development

Content การพัฒนาระบบสารสนเทศ ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ หลักในการพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Life Cycle: SDLC) เครื่องมือสนับสนุนการออกแบบและการพัฒนาระบบ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ คือ การสร้างระบบงานใหม่หรือการปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมที่มีอยู่แล้วให้สามารถทำงานเพื่อแก้ปัญหาการดำเนินงานทางธุรกิจได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน โดยอาจนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อประมวลผล เรียบเรียง เปลี่ยนแปลงและจัดเก็บ ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ สาเหตุที่ก่อให้เกิดความคิดในการพัฒนาระบบสารสนเทศใหม่ขึ้นมาทดแทนระบบเดิม ได้ดังนี้ ระบบสารสนเทศที่ใช้อยู่ในปัจจุบันอาจไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้ ระบบสารสนเทศที่ใช้อยู่ในปัจจุบันไม่สามารถสนับสนุนการดำเนินงานในอนาคตได้ เทคโนโลยีที่ใช้อยู่ในระบบสารสนเทศในปัจจุบันอาจล้าสมัย มีต้นทุนสูง ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษามากและมีประสิทธิภาพต่ำ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศปัจจุบันมีขั้นตอนที่ใช้งานที่ยุ่งยากและซับซ้อน ทำให้การใช้งาน ควบคุมกลไกในการดำเนินงาน การตรวจสอบข้อผิดพลาด และการบำรุงรักษาข้อมูลทำได้ยาก ระบบเอกสารในระบบสารสนเทศปัจจุบันไม่มีมาตรฐานหรือ....... ขาดเอกสารที่ใช้อ้างอิงระบบ เป็นผลให้การปรับปรุงหรือแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมทำได้ยาก

ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ คณะกรรมการดำเนินงาน (Steering Committee) มีหน้าที่ในการตัดสินใจ กำหนดรูปแบบ และวัตถุประสงค์ของสารสนเทศ ผู้จัดการระบบสารสนเทศ (MIS Manager) มีหน้าที่ดูแลและประสานงานในการวางแผน โครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) มีหน้าที่รับผิดชอบในการวางแผน การจัดการ และควบคุมให้งานในโครงการดำเนินไปอย่างราบรื่น สำเร็จลุล่วงและมีประสิทธิภาพ

ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือผู้ที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างระบบสารสนเทศกับกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบที่ต้องการพัฒนาขึ้นมาอีกด้วย

ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ โปรแกรมเมอร์หรือนักเขียนโปรแกรม (Programmer) มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาชุดคำสั่งหรือเขียนโปรแกรม เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล (Information Center Personnel) มีหน้าที่คอยช่วยเหลือนักวิเคราะห์ระบบและโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาระบบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ เพื่อนำมาใช้งานได้ตามต้องการ

ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศ ผู้จัดการทั่วไป (User and General Manager) เป็นบุคคลที่มีหน้าที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบงานเดิม และกำหนดความต้องการในระบบใหม่แก่ทีมงานพัฒนาระบบ เพื่อพัฒนาให้ระบบใหม่มีประสิทธิภาพและเป็นที่พึ่งพอใจกับผู้ใช้ ผู้ใช้ระบบ (System User) หมายถึง บุคคลที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์กรหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศโดยตรง

หลักในการพัฒนาระบบ ศึกษาและทำความเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาของระบบนั้น กำหนดความต้องการของวิธีแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม ระบุถึงวิธีแก้ไขปัญหาแต่ละวิธีและเลือกวิธีที่ดีที่สุด ออกแบบหรือลงมือแก้ปัญหานั้น สังเกตและประเมินผลกระทบจากวิธีแก้ปัญหาที่ได้ลงมือกระทำการลงไป และทำ การปรับปรุงจนสมบูรณ์ในที่สุด

วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Lift Cycle: SDLC) วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Lift Cycle: SDLC) คือ กระบวนการทางความคิด (Logical Process) ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ โดยแสดงถึงกิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละขั้นตอนในการวิเคราะห์และพัฒนาระบบ ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั้งสิ้นสุดการพัฒนาระบบ ซึ่งแต่ละขั้นตอนสามารถย้อนกลับได้หากเกิดข้อบกพร่อง หรือความไม่สมบูรณ์เกิดขึ้น Never Die Cycle เป็นวงจรที่ไม่หยุดนิ่ง เพราะระบบจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา (เพราะความต้องการใหม่ที่เพิ่มขึ้นของผู้ใช้ระบบ)

วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Lift Cycle: SDLC) 1. กำหนดปัญหา (Problem Definition) 2. วิเคราะห์ (Analysis) 3. ออกแบบ (Design) 4. พัฒนา (Development) 5. ทดสอบ (Testing) 6. ติดตั้ง (Implementation) 7. บำรุงรักษา (Maintenance)

วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Lift Cycle: SDLC) 1. กำหนดปัญหา (Problem Definition) รับรู้สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สรุปหาสาเหตุของปัญหา ศึกษาความเป็นไปได้ในแง่มุมต่างๆ รวบรวมความต้องการจากผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ สรุปข้อกำหนดต่างๆ ให้ชัดเจน ถูกต้อง

2. วิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์ระบบงานเดิม กำหนดความต้องการของระบบใหม่ สร้างแบบจำลอง Logical Model ประกอบด้วย Dataflow Diagram, Process Description, E-R Diagram สร้างพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary)

3. ออกแบบ (Design) การออกแบบรายงาน (Output Design) การออกแบบจอภาพ (Input Design) การออกแบบผังระบบ (System Flowchart) การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) การสร้างต้นแบบ (Prototype)

4.พัฒนา (Development) พัฒนาโปรแกรมจากที่ได้ทำการวิเคราะห์และออกแบบไว้ เลือกภาษาที่เหมาะสม พัฒนาต่อได้ง่าย สร้างเอกสารโปรแกรม

5. ทดสอบ (Testing) ทดสอบการใช้งานในระหว่างการพัฒนา ทดสอบโดยใช้ข้อมูลที่จำลองขึ้นมา ทดสอบในส่วนของ Verification และ Validation จัดฝึกอบรมการใช้ระบบงาน

6. ติดตั้ง (Implementation) เตรียมอุปกรณ์ร่วมอื่นๆ ให้พร้อม เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ ระบบเครือข่าย ลงโปรแกรมระบบปฏิบัติการและแอปพลิเคชั่น โปรแกรมให้ครบถ้วน ดำเนินการใช้งานระบบงานใหม่ จัดทำคู่มือการใช้งาน

พัฒนา / ทดสอบ / ติดตั้ง Coding/Testing Implement Physical Model Implement Model

7. บำรุงรักษา (Maintenance) แก้ไขข้อผิดพลาดที่พบในโปรแกรมให้ถูกต้อง บางครั้งอาจมีการเพิ่มโมดุลหรืออุปกรณ์บางอย่าง การบำรุงรักษาทั้งทางด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (System Development Lift Cycle: SDLC) 1. กำหนดปัญหา 2. วิเคราะห์ 3. ออกแบบ 4. พัฒนา 5. ทดสอบ 7. บำรุงรักษา 6. ติดตั้ง