องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แหล่งทุนเพื่อการศึกษาในต่างประเทศ
Advertisements

การสืบค้นข้อมูล IMF  ฐานข้อมูล International Monetary Fund Online Service (IMF) มีเนื้อหา ครอบคลุม ทางด้าน การเงินธุรกิจ  International Financial Statistics.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
19 th and 20 th May 2013 Chiang Mai, Thailand
การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
รอบรู้อาเซียน.
อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
การค้าระหว่างประเทศ (International Trade)
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
Globalization and the Law III
1 การพัฒนาความร่วมมือทางการเงิน ในภูมิภาคและโครงสร้างระเบียบ การเงินของโลก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ วิกฤติทางการเงิน ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ และ ปกรณ์
REPRESENTATIVE FULL - BODIED MONEY CREDIT MONEY GRASHAM’S LAW
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
วิชาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ
โลกาภิวัตน์และอำนาจอธิปไตย Globalizaion and Sovereignty
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
เรื่องของอาเซียน.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
@ North South Initiative
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
มองชุมชนไทยผ่านกรอบ Amartya Sen
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
Globalization and the Law
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
6 ทศวรรษ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ*
รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิรา บรมนาถบพิตร  ครองราชย์วันที่ 9 ปี 2489 เมื่อพระชนมายุ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
กฎหมายธุรกิจ : สัญญาตั๋วเงิน
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
สิทธินำคดีมาฟ้องระงับ
การสอบสวนวิสามัญ การชันสูตรพลิกศพ ได้แก่ การตรวจสถานที่ที่พบศพ และตรวจสภาพศพ เพื่อทราบเหตุที่ตาย พฤติการณ์ที่ตาย ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และบุคคลผู้ทำให้ตาย.
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ บทที่2 องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ อ.พัทธนันท์ ชัยบุตร INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ

1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ 1.1 วัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง 1.2 บทบาทและหน้าที่ 1.3 รูปแบบการให้ความช่วยเหลือ 1.4 สิทธิไถ่ถอนเงินพิเศษ 1.5 แหล่งเงินทุน 1.6 ความสัมพันธ์ระหว่าง IMF กับประเทศไทย

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund or IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1947 ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติอยู่ก่อนแล้ว ในปัจจุบันมีสมาชิก 188 ประเทศ (South Sudan เป็นสมาชิกอันดับที่ 188 เข้าร่วมเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 2012)

บทบาทและหน้าที่ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีบทบาทหลักในการสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางการเงิน  และความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก เพื่อให้ระบบการเงินระหว่างประเทศมีเสถียรภาพ

2. ธนาคารโลก 2.1 วัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง 2.2 บทบาทและหน้าที่ 2.3 แหล่งเงินทุนของธนาคารโลก 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารโลกกับประเทศไทย

ธนาคารโลก ( World Bank) ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก

วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งธนาคารโลก เพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกที่ได้รับความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง โดยให้สมาชิกกู้ยืมไปเพื่อบูรณะซ่อมแซมและพัฒนาประเทศ ต่อมาได้ขยายขอบเขตของการบริการออกไปเป็นการสนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาและเพิ่มผลผลิตในประเทศที่กำลังพัฒนา เพื่อยกระดับชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศสมาชิก ตามลักษณะกิจการที่จะลงทุนและตามความจำเป็นและยังช่วยเหลือสมาชิกด้วยการให้บริการด้านความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการวางแผนการลงทุนและบริหารการเงิน

3. ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ 3.1 วัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง 3.2 บทบาทและรูปแบบการดำเนินงาน 3.3 ทุนดำเนินการ 3.4 ความสัมพันธ์ระหว่าง BIS กับประเทศไทย

ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ ธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศคืออังกฤษ, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, เบลเยียม, ญี่ปุ่นและประเทศอื่น ๆ ของธนาคารกลางของประเทศสหรัฐอเมริกาและเป็นตัวแทนผลประโยชน์ของภาคธนาคารมอร์แกนธนาคารซิตี้แบงก์ในนิวยอร์กและชิคาโกคณะกรรมการตามข้อตกลงระหว่างประเทศที่กรุงเฮกพฤษภาคม 1930 ร่วมกัน จัดตั้งสำนักงานใหญ่ในบาเซิล, สวิตเซอร์แลนด์ เพียงแค่สร้างเพียงเจ็ดประเทศสมาชิกในขณะนี้มีการเติบโตถึง 45 ประเทศสมาชิก

วัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง ธนาคารเพื่อการชำระบัญชีระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกคือการจัดการกับค่าตอบแทนที่จ่ายในประเทศเยอรมนีหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและปัญหาทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการชำระบัญชี หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองมันก็กลายเป็นกลไกการหักบัญชีระหว่างประเทศสมาชิก SCO ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาวัตถุประสงค์ของธนาคารที่จะค่อยๆเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างธนาคารกลางและการให้บริการทางการเงินระหว่างประเทศเพื่ออำนวยความสะดวกและยอมรับคณะกรรมการหรือตามที่ การเสนอชื่อสำหรับธุรกิจการหักบัญชีระหว่างประเทศ ธนาคารเพื่อการชำระหนี้ระหว่างประเทศการเงินร่างการตัดสินใจไม่ได้ระหว่างรัฐบาลในการพัฒนาหน่วยงานช่วยเหลือหรือในความเป็นจริงธนาคารกลางของฝั่งตะวันตก

ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย 4.1 วัตถุประสงค์และทุนดำเนินการ 4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชียกับประเทศไทย

ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank or ADB) เป็นสถาบันการเงินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิกผ่านการให้เงินกู้ และความสนับสนุนด้านเทคนิค ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2509 โดยความช่วยเหลือของสหประชาชาติ มีประเทศเข้าร่วมก่อตั้ง 32 ประเทศ จนถึงปัจจุบัน (2 กุมภาพันธ์ 2550) มีประเทศสมาชิกทั้งสิ้น 67 ประเทศ เป็น 48 ประเทศในภูมิภาค และ 19 ประเทศจากพื้นที่อื่น 

วัตถุประสงค์และทุนดำเนินการ ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย คือมุ่งให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก บรรเทาปัญหาความยากจน พัฒนาภาคสังคมและส่งเสริมธรรมาภิบาล สำหรับกรอบการดำเนินการในระยะยาว(ปี 2544-2559) ธนาคารพัฒนาเอเชียได้วางนโยบายหลักเกี่ยวกับการพัฒนาภาคเอกชน ความร่วมมือในระดับภูมิภาค และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนโดยธนาคารพัฒนาเอเชียจะให้ความช่วยเหลือในรูปแบบเงินกู้ ค้ำประกันเงินกู้ และความช่วยเหลือวิชาการ

ความสัมพันธ์ระหว่างธนาคารพัฒนาเอเชียกับประเทศไทย ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสมาชิกในความตกลงว่าด้วยการสถาปนาธนาคารพัฒนาเอเชีย เมื่อปี 2509 และมีการออกพระราชบัญญัติให้อำนาจปฏิบัติการเกี่ยวกับธนาคารพัฒนาเอเชีย พ.ศ.2509 เพื่อให้อำนาจรัฐบาลปฏิบัติการเกี่ยวกับธนาคารพัฒนาเอเชียตามข้อผูกผัน ซึ่งประเทศภาคีสมาชิกจะต้องปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าว เพื่อให้รัฐบาลมีอำนาจถือประโยชน์จากการเป็นภาคีสมาชิกด้วย ธนาคารพัฒนาเอเชียได้เริ่มให้ความช่วยเหลือกับประเทศไทยตั้งแต่ปี 2511 ในรูปต่างๆ ได้แก่ เงินกู้สำหรับโครงการโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจต่างๆ เช่น ด้านสาธารณูปโภค พลังงาน คมนาคม การเกษตร เป็นต้น ความช่วยเหลือทางวิชาการแบบให้เปล่า และเงินกู้ที่ให้กับภาคเอกชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ธนาคารพัฒนาเอเชียได้ให้เงินกู้และความช่วยเหลือกับประเทศไทยเป็นเงิน 5.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ และมีโครงการเงินกู้จาก ADB ประมาณ 80 โครงการ