การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
โดย นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
การบริหารงบบริการ P&P ปีงบประมาณ 2553
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางการสนับสนุนการดำเนิน งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1 ปีงบประมาณ 2555.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
(ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
การบริหารและขับเคลื่อน
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560

งบอัตราเหมาจ่ายรายหัวปี 2560 ประชากร UC ปี2559=48.787ล้านคน ->> ปี2560=48.8029 ล้านคน ประเภทบริการ ปี 2559 ปี 2560 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 1,103.92 1,137.58 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 1,060.14 1,090.41 3. บริการกรณีเฉพาะ 305.29 315.14 4. บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 398.60 405.29 5. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ 16.13 6. บริการแพทย์แผนไทย 10.77 11.61 7. ค่าบริการทางการแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่าเสื่อมจากการบริการ) 128.69 8. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ 5.40 * เงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการและ ผู้ให้บริการ 5.02 รวม 3,028.94 3,109.87

ภาพรวมรูปแบบการบริหารจัดการ ปี 2560 แบ่งประเภทบริการตามการบริหารจัดการ 5 กลุ่ม (ยกเลิกค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ) ได้แก่ กลุ่ม หลักเกณฑ์และแนวทางบริหาร หน่วยรับค่าใช้จ่าย P&P National priority program and central procurement (NPP) บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับประเทศ หน่วยบริการเบิกวัคซีน และค่าบริการ (หน่วยงาน/องค์กร) P&P ชุมชน บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ดำเนินการในชุมชน ถ้าเหลือให้ สปสช. จ่ายเป็น PPB เขต 13 กทม ถ้าไม่มีกองทุน ให้จ่ายเป็น PPB กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (อปท.สมทบค่าใช้จ่าย) P&P area based (PPA ) บริหาร GB-ระดับเขต ผ่าน อปสข. เป็นค่าใช้จ่ายบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการตามนโยบายหรือแก้ปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัดตามความจำเป็นทางสุขภาพ หน่วยบริการ/สถานบริการ P&P Basic services (PPB) บริหาร GB-ระดับประเทศ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุขฉบับที่ 10 ด้านบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จัดสรรตามจำนวนประชากรด้วยอัตราที่ปรับตามโครงสร้างอายุ และจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) โดยนำไปรวมกับงบผู้ป่วยนอกผู้ป่วยในเพื่อจัดสรรภายใต้เงื่อนไขการจ่ายแบบขั้นบันได (Stepladder) ในระดับประเทศ สำหรับหน่วยงานภาครัฐจะมีการหักค่าแรง จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (P&P-QOF) บริหาร GB-ระดับเขต ย้ายไปบริหารรวมกับ OP คุณภาพ เป็นส่วนที่ ๙ จ่ายตาม KPI

ภาพรวมรูปแบบการบริหารจัดการ ปี 2560 (ต่อ) ดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ที่ใช้ในการปรับอัตราตามโครงสร้างอายุประชากรระดับจังหวัด ให้ใช้ชุดที่ปรับปรุงขอบเขตบริการใหม่ (ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 7 เมษายน 2559) กำหนดเงื่อนไขเฉพาะ กรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร อาจปรับการจ่ายเป็นตามรายการบริการได้ โดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. กรณีหน่วยบริการสังกัด สป.สธ. ให้ใช้ประชากร ณ 1 กรกฎาคม 2559 เป็นตัวแทนการจ่ายทั้งปี

กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการงบบริการ P&P ปี 2560 P&P ( 301.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.521 ล้านคน) งบที่ได้รับ 405.29 บาทต่อหัว ที่ UC pop 48.8029 ล้านคน (ก) NPP & Central Procurement (30 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P Area based (4 บาท/คน) (ง) P&P basic services เหมาจ่าย (212.88 บาท/คน) (จ) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( 10 บาท/คน) วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับประเทศ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่) ที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย หาก อปท.ไม่พร้อมและหรือมีเงินเหลือให้สปสช.จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 13 หากกองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือไม่มีการสมทบ หรือมีเงินเหลือ ให้ สปสช. จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 การใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด บริหารเป็น GB ระดับเขต จ่ายเป็น ค่าบริการแก้ไข ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด หรือตามนโยบาย ทั้งนี้ภายใต้ประเภท และขอบเขตบริการ P&P โดยจ่ายให้ หน่วยบริการ/สถาน บริการ บริหารจัดการเป็นภาพรวมประเทศโดยให้จ่ายแบบเหมาจ่าย ต่อผู้มีสิทธิด้วยอัตราที่ปรับตามปัจจัย ดังนี้ ร้อยละ 60 ของเงิน P&P basic services ปรับอัตราตาม โครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนในระดับจังหวัด และ ให้อัตราเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการ P&P ของแต่ละ จังหวัดต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 10 (ค่าเฉลี่ย ประเทศ±10%) โดยดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ตามกลุ่ม อายุ ให้ใช้ตามโครงสร้างต้นทุนบริการที่ใช้ในการขอ งบประมาณปี 2560 โดยการจ่าย 1.1) สำหรับประชากรสิทธิ UC ให้ตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิกับหน่วยบริการประจำ 1.2) สำหรับประชากรไทยสิทธิอื่น ให้ระดับเขตปรับ เกลี่ยให้หน่วยบริการ/สถานบริการ โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ร้อยละ 40 ของเงิน P&P basic services ปรับ อัตราตามจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) เป็นราย หน่วยบริการ (CUP)/สถานบริการ โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการตั้งแต่ เม.ย. 2558 – มี.ค. 2559 จาก 43 แฟ้มที่ส่วนกลาง สำหรับกรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร ให้สามารถปรับหลักเกณฑ์การจ่ายในข้อ 1) และข้อ 2) ได้โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. บริหารรวมกับ OP คุณภาพ ตามส่วนที่ 9 งบรายหัวเพิ่มขึ้น จาก 297.70 บาท (ปี 59) เป็น 301.79 บาท (เพิ่ม 4.09 บาท)

ประเด็นการเปลี่ยนแปลงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ส่วนที่ 1 (ก) NPP และ Central Procurement : ประเด็นเปลี่ยนแปลง (ต่อ) จากประกาศฯ ปี 2559 ข้อ 35 ปรับในปี 2560 (ก) NPP & Central Procurement ก.1 - Central procurement ค่าวัคซีนป้องกันโรคพื้นฐาน ค่าวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล ค่าสมุดบันทึกสุขภาพและค่าเวชภัณฑ์และวัสดุทางการแพทย์ตามความจำเป็น ก.2 – National priority program (NPP) ค่าบริการระดับประเทศ (TSH, Thalassemia, Child development, Teenage pregnancy, และประเด็นที่คณะอนุกรรมการPP เห็นชอบ) ค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 1 บาทต่อคนเป็นค่าสนับสนุนส่งเสริมระบบ และการกำกับติดตาม/ประเมินผล) (ก) NPP & Central Procurement ก.1 - Central procurement เหมือนปี 2559 ก.2 – National priority program (NPP) เป็นค่าบริการระดับประเทศ สำหรับ บริการที่มีความเสี่ยงสูงต่อการพิการแต่กำเนิด และตามนโยบาย P&P ระดับประเทศ ได้แก่ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร(ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ พะ

ใช้ข้อมูล OP/PP Individual Data ผลงานบริการ P&P (10 รายการ) ที่ใช้ในการจัดสรร PPB ระดับประเทศ ปี 2560 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดครั้งที่ 1 (คน) จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการดูแลก่อนคลอดครั้งต่อไป (ครั้ง) จำนวนหญิงหลังคลอดที่ได้รับบริการดูแลหลังคลอดตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป (คน) จำนวนผู้รับบริการคุมกำเนิด(ครั้ง) จำนวนเด็ก 0-5 ปี ที่ได้รับบริการตรวจพัฒนาการทั้งหมด (คน) จำนวนเด็ก 6-12 ปีที่ได้รับบริการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด (คน) จำนวนการได้รับบริการวัคซีน EPI ทุกชนิดในเด็กแรกเกิด ถึงเด็ก ป. 6 (เข็ม) จำนวนหญิง 30-60 ปี ที่ได้รับบริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (คน) จำนวนผู้อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (คน) จำนวนผู้อายุตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไปที่ได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคซึมเศร้า (คน) ใช้ข้อมูล OP/PP Individual Data

กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการงบบริการ P&P ปี 2560 งบที่ได้รับ 405.29 บาทต่อหัว ที่ UC pop 48.8029 ล้านคน P&P ( 301.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.521 ล้านคน) (ก) NPP & Central Procurement (30 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P Area based (4 บาท/คน) (ง) P&P basic services เหมาจ่าย (212.88 บาท/คน) (จ) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( 10 บาท/คน) วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับประเทศ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่) ที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย หาก อปท.ไม่พร้อมและหรือมีเงินเหลือให้สปสช.จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 13 หากกองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือไม่มีการสมทบ หรือมีเงินเหลือ ให้ สปสช. จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 การใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด บริหารเป็น GB ระดับเขต จ่ายเป็น ค่าบริการแก้ไข ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด หรือตามนโยบาย ทั้งนี้ภายใต้ประเภท และขอบเขตบริการ P&P โดยจ่ายให้ หน่วยบริการ/สถาน บริการ บริหารจัดการเป็นภาพรวมประเทศโดยให้จ่ายแบบเหมาจ่าย ต่อผู้มีสิทธิด้วยอัตราที่ปรับตามปัจจัย ดังนี้ ร้อยละ 60 ของเงิน P&P basic services ปรับอัตราตาม โครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนในระดับจังหวัด และ ให้อัตราเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการ P&P ของแต่ละ จังหวัดต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 10 (ค่าเฉลี่ย ประเทศ±10%) โดยดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ตามกลุ่ม อายุ ให้ใช้ตามโครงสร้างต้นทุนบริการที่ใช้ในการขอ งบประมาณปี 2560 โดยการจ่าย 1.1) สำหรับประชากรสิทธิ UC ให้ตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิกับหน่วยบริการประจำ 1.2) สำหรับประชากรไทยสิทธิอื่น ให้ระดับเขตปรับ เกลี่ยให้หน่วยบริการ/สถานบริการ โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ร้อยละ 40 ของเงิน P&P basic services ปรับ อัตราตามจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) เป็นราย หน่วยบริการ (CUP)/สถานบริการ โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการตั้งแต่ เม.ย. 2558 – มี.ค. 2559 จาก 43 แฟ้มที่ส่วนกลาง สำหรับกรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร ให้สามารถปรับหลักเกณฑ์การจ่ายในข้อ 1) และข้อ 2) ได้โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. บริหารรวมกับ OP คุณภาพ ตามส่วนที่ 9 งบรายหัวเพิ่มขึ้น จาก 297.70 บาท (ปี 59) เป็น 301.79 บาท (เพิ่ม 4.09 บาท)

กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการงบบริการ P&P ปี 2560 P&P ( 301.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.521 ล้านคน) งบที่ได้รับ 405.29 บาทต่อหัว ที่ UC pop 48.8029 ล้านคน (ก) NPP & Central Procurement (30 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P Area based (4 บาท/คน) (ง) P&P basic services เหมาจ่าย (212.88 บาท/คน) (จ) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( 10 บาท/คน) วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับประเทศ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่) ที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย หาก อปท.ไม่พร้อมและหรือมีเงินเหลือให้สปสช.จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 13 หากกองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือไม่มีการสมทบ หรือมีเงินเหลือ ให้ สปสช. จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 การใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด บริหารเป็น GB ระดับเขต จ่ายเป็น ค่าบริการแก้ไข ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด หรือตามนโยบาย ทั้งนี้ภายใต้ประเภท และขอบเขตบริการ P&P โดยจ่ายให้ หน่วยบริการ/สถาน บริการ บริหารจัดการเป็นภาพรวมประเทศโดยให้จ่ายแบบเหมาจ่าย ต่อผู้มีสิทธิด้วยอัตราที่ปรับตามปัจจัย ดังนี้ ร้อยละ 60 ของเงิน P&P basic services ปรับอัตราตาม โครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนในระดับจังหวัด และ ให้อัตราเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการ P&P ของแต่ละ จังหวัดต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 10 (ค่าเฉลี่ย ประเทศ±10%) โดยดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ตามกลุ่ม อายุ ให้ใช้ตามโครงสร้างต้นทุนบริการที่ใช้ในการขอ งบประมาณปี 2560 โดยการจ่าย 1.1) สำหรับประชากรสิทธิ UC ให้ตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิกับหน่วยบริการประจำ 1.2) สำหรับประชากรไทยสิทธิอื่น ให้ระดับเขตปรับ เกลี่ยให้หน่วยบริการ/สถานบริการ โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ร้อยละ 40 ของเงิน P&P basic services ปรับ อัตราตามจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) เป็นราย หน่วยบริการ (CUP)/สถานบริการ โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการตั้งแต่ เม.ย. 2558 – มี.ค. 2559 จาก 43 แฟ้มที่ส่วนกลาง สำหรับกรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร ให้สามารถปรับหลักเกณฑ์การจ่ายในข้อ 1) และข้อ 2) ได้โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. บริหารรวมกับ OP คุณภาพ ตามส่วนที่ 9 งบรายหัวเพิ่มขึ้น จาก 297.70 บาท (ปี 59) เป็น 301.79 บาท (เพิ่ม 4.09 บาท)

กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการงบบริการ P&P ปี 2560 P&P ( 301.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.521 ล้านคน) งบที่ได้รับ 405.29 บาทต่อหัว ที่ UC pop 48.8029 ล้านคน (ก) NPP & Central Procurement (30 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P Area based (4 บาท/คน) (ง) P&P basic services เหมาจ่าย (212.88 บาท/คน) (จ) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( 10 บาท/คน) วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับประเทศ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่) ที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย หาก อปท.ไม่พร้อมและหรือมีเงินเหลือให้สปสช.จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 13 หากกองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือไม่มีการสมทบ หรือมีเงินเหลือ ให้ สปสช. จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 การใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด บริหารเป็น GB ระดับเขต จ่ายเป็น ค่าบริการแก้ไข ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด หรือตามนโยบาย ทั้งนี้ภายใต้ประเภท และขอบเขตบริการ P&P โดยจ่ายให้ หน่วยบริการ/สถาน บริการ บริหารจัดการเป็นภาพรวมประเทศโดยให้จ่ายแบบเหมาจ่าย ต่อผู้มีสิทธิด้วยอัตราที่ปรับตามปัจจัย ดังนี้ ร้อยละ 60 ของเงิน P&P basic services ปรับอัตราตาม โครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนในระดับจังหวัด และ ให้อัตราเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการ P&P ของแต่ละ จังหวัดต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 10 (ค่าเฉลี่ย ประเทศ±10%) โดยดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ตามกลุ่ม อายุ ให้ใช้ตามโครงสร้างต้นทุนบริการที่ใช้ในการขอ งบประมาณปี 2560 โดยการจ่าย 1.1) สำหรับประชากรสิทธิ UC ให้ตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิกับหน่วยบริการประจำ 1.2) สำหรับประชากรไทยสิทธิอื่น ให้ระดับเขตปรับ เกลี่ยให้หน่วยบริการ/สถานบริการ โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ร้อยละ 40 ของเงิน P&P basic services ปรับ อัตราตามจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) เป็นราย หน่วยบริการ (CUP)/สถานบริการ โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการตั้งแต่ เม.ย. 2558 – มี.ค. 2559 จาก 43 แฟ้มที่ส่วนกลาง สำหรับกรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร ให้สามารถปรับหลักเกณฑ์การจ่ายในข้อ 1) และข้อ 2) ได้โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. บริหารรวมกับ OP คุณภาพ ตามส่วนที่ 9 งบรายหัวเพิ่มขึ้น จาก 297.70 บาท (ปี 59) เป็น 301.79 บาท (เพิ่ม 4.09 บาท)

การบริหารงบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ต้องการเร่งรัดการเข้าถึงบริการ หรือแก้ปัญหาพื้นที่( PPA) ปี 2559 (8 บาท) ปี 2560 (4 บาท)

การบริหารงบค่าใช้จ่ายสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ ( PPD) ปี 2559 (5 บาท) ปี 2560 ไม่มี

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ม.44) ประเด็นสำคัญ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งบประมาณ PPA ปี 2560 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ม.44)

การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

ส่วนที่ 4 (ง) PP Area Based 4 บาทต่อคน (19,411,508 บาท) หลักเกณฑ์/กรอบการบริหารจัดการ

แนวทางการบริหารจัดการ งบ PP Area Based เขต 12 สงขลา ปี 2560 กรอบการบริหารงบ 1.จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในรูปแบบโครงการระดับเขตหรือจังหวัด 2.จัดสรรให้กับหน่วยบริการ หน่วยงานของรัฐ (สสจ./ศูนย์วิชาการ) องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์แสวงหาผลกำไร (สมาคม/มูลนิธิ) 3.กรอบเรื่องที่ให้ความสำคัญ 3.1 ประเด็นจากการประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพของพื้นที่ (Health Needs Assessment) ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด,โรคมะเร็ง,โรคหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง 3.2 การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยแม่(ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์) และเด็ก (อายุ 0-5 ปี) 3.3 ยุทธศาสตร์ของเขต/จังหวัด 4.ผ่านคณะทำงานบริหารค่าใช้จ่ายบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดับเขต ๑๒ สงขลา พิจารณาโครงการ

การจัดสรรงบ PPA เขต 12 สงขลา ปี 2560 (ต่อ)

กรอบหลักเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการงบบริการ P&P ปี 2560 P&P ( 301.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.521 ล้านคน) งบที่ได้รับ 405.29 บาทต่อหัว ที่ UC pop 48.8029 ล้านคน (ก) NPP & Central Procurement (30 บาท/คน) (ข) P&P ในชุมชน (45 บาท/คน) (ค) P&P Area based (4 บาท/คน) (ง) P&P basic services เหมาจ่าย (212.88 บาท/คน) (จ) จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ( 10 บาท/คน) วัคซีน สมุดสุขภาพ บริการปัญหาระดับประเทศ TSH ในทารกแรกเกิด ค่าบริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร (ห่วง/ยาฝัง) ในวัยรุ่นหลังคลอด แท้งหรือที่สมัครใจ และการป้องกันควบคุมการแท้งที่ไม่ปลอดภัย ค่าบริการตรวจคัดกรองและยืนยันกลุ่มอาการดาวน์ทุกขั้นตอนในหญิงตั้งครรภ์และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันทุกขั้นตอนโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ และการยุติการตั้งครรภ์ ค่าบริการตรวจยืนยันปัญหาสายตาและค่าแว่นตาสำหรับเด็ก ค่าบริการตรวจยืนยันและแก้ไขพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ประเด็นบริการอื่นๆ ที่ผ่านการเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สสส. ผู้มีส่วนได้เสียอื่น และ สปสช. โดยต้องคำนึงถึงความพร้อมของการจัดบริการ ทั้งนี้ต้องมีการกำหนดตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไขในการคัดเลือกบริการที่จะดำเนินการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 จัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่) ที่มีความพร้อมตามจำนวนประชากรไทย หาก อปท.ไม่พร้อมและหรือมีเงินเหลือให้สปสช.จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการ สำหรับพื้นที่ สปสช.เขต 13 หากกองทุนท้องถิ่นหรือพื้นที่ หรือไม่มีการสมทบ หรือมีเงินเหลือ ให้ สปสช. จ่ายเป็นค่าบริการ PP basic services แก่หน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 1-12 การใช้จ่ายของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด บริหารเป็น GB ระดับเขต จ่ายเป็น ค่าบริการแก้ไข ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ระดับเขต/จังหวัด หรือตามนโยบาย ทั้งนี้ภายใต้ประเภท และขอบเขตบริการ P&P โดยจ่ายให้ หน่วยบริการ/สถาน บริการ บริหารจัดการเป็นภาพรวมประเทศโดยให้จ่ายแบบเหมาจ่าย ต่อผู้มีสิทธิด้วยอัตราที่ปรับตามปัจจัย ดังนี้ ร้อยละ 60 ของเงิน P&P basic services ปรับอัตราตาม โครงสร้างอายุของผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนในระดับจังหวัด และ ให้อัตราเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการ P&P ของแต่ละ จังหวัดต่างจากค่าเฉลี่ยไม่เกินร้อยละ 10 (ค่าเฉลี่ย ประเทศ±10%) โดยดัชนีค่าใช้จ่ายบริการ P&P ตามกลุ่ม อายุ ให้ใช้ตามโครงสร้างต้นทุนบริการที่ใช้ในการขอ งบประมาณปี 2560 โดยการจ่าย 1.1) สำหรับประชากรสิทธิ UC ให้ตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิกับหน่วยบริการประจำ 1.2) สำหรับประชากรไทยสิทธิอื่น ให้ระดับเขตปรับ เกลี่ยให้หน่วยบริการ/สถานบริการ โดยผ่าน ความเห็นชอบจาก อปสข. ร้อยละ 40 ของเงิน P&P basic services ปรับ อัตราตามจำนวนผลงานบริการ (10 รายการ) เป็นราย หน่วยบริการ (CUP)/สถานบริการ โดยใช้ข้อมูลผลงานบริการตั้งแต่ เม.ย. 2558 – มี.ค. 2559 จาก 43 แฟ้มที่ส่วนกลาง สำหรับกรณี สปสช. เขต 13-กรุงเทพมหานคร ให้สามารถปรับหลักเกณฑ์การจ่ายในข้อ 1) และข้อ 2) ได้โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. บริหารรวมกับ OP คุณภาพ ตามส่วนที่ 9 งบรายหัวเพิ่มขึ้น จาก 297.70 บาท (ปี 59) เป็น 301.79 บาท (เพิ่ม 4.09 บาท)

กรอบแนวทางการจัดสรรงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปี 2560 งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (20 บ./ปชก.) งบ OP-ทั่วไป (10 บ./ปชก.UC 48.4029 ล้านคน) งบ PP - จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (10 บ./ปชก.ไทยทุกสิทธิ 65.5210 ล้านคน) เขต 12 สงขลา PP = 48,582,770 บาท OP = 40,132,750 บาท รวมเป็น 88,661,520 บาท วงเงินแบบ Global ระดับเขต คำนวณงบ จากจำนวนประชากร เป็นรายเขตตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จ่ายตามผลงานตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการ จ่ายให้หน่วยบริการประจำ และเครือข่ายหน่วยบริการ โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และเสนอ อปสข.พิจารณา เพิ่มประเด็น พิจารณาตามผลงานบริการ กรณีที่ไม่มีผลงาน ไม่ได้รับการจัดสรรงบ โดยจ่าย ให้กับหน่วยบริการประจำ รวมทั้งหน่วยบริการ /สถานบริการที่ให้บริการระดับปฐมภูมิ ทั้งในสังกัดภาครัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 2) การจ่ายให้หน่วยบริการ 2.1) สปสช.เขตนำผลงานตามคะแนนตัวชี้วัดของหน่วยบริการประจำ รวมทั้งหน่วยบริการ / สถานบริการที่ให้บริการระดับปฐมภูมิทั้งหมดภายในเขต มาคำนวณคะแนนและคำนวณจ่ายตามหลักเกณฑ์การ จ่ายค่าใช้จ่ายที่ผ่านความเห็นชอบของ อปสข. 2.2) หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการ หรือสถานบริการสามารถนำงบที่ได้รับไปใช้เพื่อ ดำเนินการจัดบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ มาตรฐานตามแนวคิดการพัฒนาตัวชี้วัด QOF และหรือดำเนินการให้เกิด การเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพในพื้นที่และหรือกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบภายใต้ระเบียบทางการเงินของหน่วย บริการ/สถานบริการนั้นๆ และสามารถนำงบนี้ไปพัฒนาให้มีทีมหมอครอบครัว รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินงาน ของทีมหมอครอบครัว

ตัวชี้วัด QOF ปี 60 ลำดับที่ รายการตัวชี้วัดกลาง คะแนน ข้อย่อย ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดใหม่ ข้อมูล 12 เดือน : ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน 1.1 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 60 1.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน 40 ตัวชี้วัดที่ 2 ตัวชี้วัดใหม่ : ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง 2.1 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง 2.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ที่ได้รับการคัดกรอง และวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดเดิม : ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ 100

ตัวชี้วัด QOF ปี 60 ลำดับที่ รายการตัวชี้วัดกลาง คะแนน ข้อย่อย ตัวชี้วัดที่ 4 ตัวชี้วัดเดิม ข้อมูล 12 เดือน : ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี 100 ตัวชี้วัดที่ 5 ตัวชี้วัดเดิม : ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก 5.1ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 60 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) 40 ตัวชี้วัดที่ 6 ตัวชี้วัดใหม่   : การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควร รักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ใน โรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

รายการตัวชี้วัดพื้นที่ ตัวชี้วัด QOF ปี 60 ลำดับที่ รายการตัวชี้วัดพื้นที่ คะแน นข้อ ย่อย ตัวชี้วัดที่ 7 ตัวชี้วัดใหม่ ข้อมูล 6 เดือน : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนิน กิจวัตรประจำวันพื้นฐาน 7.1 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะเพื่อการดูแล ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) 70 7.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองและ ประเมินสมรรถนะที่ต้องการความช่วยเหลือในการ ดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน(น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 11 คะแนน) 30

รายการตัวชี้วัดพื้นที่ ตัวชี้วัด QOF ปี 60 ลำดับที่ รายการตัวชี้วัดพื้นที่ คะแน นข้อ ย่อย ตัวชี้วัดที่ 8 ตัวชี้วัดใหม่ ข้อมูล 6 เดือน   : ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีการพัฒนาการสมวัย 8.1 ร้อยละของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ 25 8.2 ร้อยละเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า 50 8.3 ร้อยละเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ที่มีผลคัดกรองสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง และติดตามภายใน 30 วัน

รายการตัวชี้วัดพื้นที่ ตัวชี้วัด QOF ปี 60 ลำดับที่ รายการตัวชี้วัดพื้นที่ คะแน นข้อ ย่อย ตัวชี้วัดที่ 9 ตัวชี้วัดใหม่ ข้อมูล 12 เดือน : ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช 100 ตัวชี้วัดที่ 10 ตัวชี้วัดใหม่ ข้อมูล 6 เดือน : อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต 10.1อัตราป่วยด้วยภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต (ต่อแสนประชาชน) 50 10.2 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต