EFFECTIVE REDUCTION MATERNAL MORTALITY RATIO

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board)
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
งาน Palliative care.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

EFFECTIVE REDUCTION MATERNAL MORTALITY RATIO

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดเชียงใหม่ ๒๕ อำเภอ ๒๐๔ ตำบล ๒,๐๖7 หมู่บ้าน ๖๓๖,๙๒๘ หลังคา เรือน ประชากร 1,638,981 คน ชาย 795,640 คน (๔๘.๕๔ %) หญิง 843,341 คน (๕๑.๔๖ %) แหล่งที่มา : ข้อมูลจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สถานบริการสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลศูนย์ จำนวน ๑ แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน ๒ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน ๒๑ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๒๖๗ แห่ง โรงพยาบาลเอกชน และโรงพยาบาลรัฐนอกสังกัด จำนวน 24 แห่ง

กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดโครงสร้างขององค์กร มีคณะกรรมการ ๓ บอร์ด Provider Regulator Supporter บริหารในลักษณะเครือข่าย ๕ โซนบริการ ๑.โซนนครพิงค์ ๒.โซนฝาง ๓.โซนสันทราย ๔.โซนสันป่าตอง ๕.โซนจอมทอง

ระบบส่งต่อแม่และเด็กจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 ระบบส่งต่อแม่และเด็กจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 เครือข่าย 1 เครือข่าย 2 เครือข่าย 3 เครือข่าย 4 รพ.แม่อาย รพ.ไชยปราการ รพ.เชียงดาว รพ.พร้าว รพ.เวียงแหง รพ.แม่แตง รพ.วัดจันทร์ รพ.สะเมิง รพ.แม่แจ่ม รพ.ฮอด รพ.อมก๋อย รพ.ดอยเต่า รพ.ดอยหล่อ รพ.แม่วาง รพ.ดอยสะเก็ด รพ.สารภี รพ.แม่ออน รพ.สันกำแพง รพ.สันป่าตอง ( สูติแพทย์ 3 กุมารแพทย์ 2 วิสัญญีแพทย์ 1) รพ.หางดง ( สูติแพทย์ 1 กุมารแพทย์ 1 ) รพ.จอมทอง ( สูติแพทย์ 3 กุมารแพทย์ 3 วิสัญญีแพทย์ 3 ) รพ.ฝาง (สูติแพทย์ 4 , กุมารแพทย์ 2 , วิสัญญีแพทย์ 1) รพ.ส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่( สูติแพทย์ 3 กุมารแพทย์ 4 ) รพ.สันทราย ( สูติแพทย์ 3 กุมารแพทย์ 2 วิสัญญีแพทย์ 1 ) รพ.นครพิงค์ ( สูติแพทย์ 11, กุมารแพทย์ 12 , วิสัญญีแพทย์ 7 ) **รพ.สันทราย รับส่งต่อตลอด 24 ชั่วโมง แต่ไม่สามารถผ่าตัด เวลา 24.00-08.00 น.

สถานการณ์สำคัญด้านแม่และเด็ก จังหวัดเชียงใหม่ บริบท แตกต่างในแต่ละ zone เมือง กึ่งเมือง ชนบท พื้นที่สูงป่าเขา หญิงตั้งครรภ์ ½ คนไทย ½ ชาติพันธ์และต่างด้าว หญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดเชียงใหม่

อัตราส่วนมารดาตาย จังหวัดเชียงใหม่ สาเหตุกรณีแม่ตาย 15 ราย ปี 2559 - PPH 6 ราย - PIH 3 ราย - Sepsis 2 ราย - Acute fatty liver 1 ราย - Medical complication อื่นๆ 3 ราย สาเหตุกรณีแม่ตาย 5 ราย ปี 2560 - PIH 2 ราย - PPH 1 ราย - Myocarditis 1 ราย - suicide 1 ราย

ข้อสรุปจาก Maternal mortality conference พบปัญหาในกระบวนการดูแลรักษา ยังมี NO ANC การวินิจฉัยและการตัดสินใจในการรักษาของแพทย์ล่าช้า การไม่ได้ใช้ถุงตวงเลือด ใช้เวลาแก้ไข shock นานกว่า 30 นาที ระบบการส่งต่อภายในรพ.และระหว่างรพ. กรณีมีภาวะแทรกซ้อนทางอายุกรรม ไม่ได้ Consult อายุรแพทย์ ตาม CPG ขาดการส่งต่อข้อมูลความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ระหว่างสถานบริการ จนท.ห้องฉุกเฉินขาดความตระหนัก เรื่องความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์

ข้อมูลรายงานโดยคณะกรรมการ MCBB เขตสุขภาพที่1 มาตรการหลัก 5 ข้อ 1. ลดการตายจากสาเหตุตกเลือดหลังคลอด(PPH : Post Partum Hemorrhage) 2. ลดการตายจากความดันโลหิตสูง (PIH : Pregnancy-induced Hypertension) 3. ลดการตายจากโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม เช่น โรคหัวใจ, SLE, Thyrotoxicosis, Chronic Hypertension, DM) 4. ลดการตายจากการแท้งไม่ปลอดภัย 5. ลดการตายจากการฆ่าตัวตาย ข้อมูลรายงานโดยคณะกรรมการ MCBB เขตสุขภาพที่1

เข้าถึงบริการ Early ANC Risk Identification Risk management รพ.สต./รพ.มีการ คัดกรองความเสี่ยง MCHB วิเคราะห์ ความเสี่ยง การดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ทบทวน/ปรับปรุง CPG Risk 1 Risk 2 RISK 3 บริหารจัดการ ให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยง ได้พบสูติแพทย์ ทุกรายเพื่อดูแลรายบุคคล

การประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก Risk 1 หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงที่ไม่รุนแรง และมีความเสี่ยงปานกลางสามารถดูแลที่โรงพยาบาลต้นสังกัด Risk 2 หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงส่งไปดูแลต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย/รพ.ส่งเสริมสุขภาพ เชียงใหม่ Risk 3 หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงมากต้องส่งดูแลต่อที่โรงพยาบาลนครพิงค์ Risk 1 Risk 2 Risk 3 1. เคยมีทารกตายในครรภ์หรือ เสียชีวิตแรกเกิด (1เดือนแรก) 2. เคยคลอดบุตรน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมหรือประวัติคลอดก่อนกำหนด 3. เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม 4. อายุ< 17 ปี 5.เคยเข้ารับการรักษาเพราะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ หรือครรภ์เป็นพิษ 6. เคยผ่าตัดคลอดบุตร เคยผ่าอวัยวะภายในระบบสืบพันธุ์ เช่น เนื้องอกมดลูก ผ่าตัดรังไข่ ผ่าตัดปากมดลูก เย็บผูกปากมดลูก 7. อายุ> 35 ปี 8. RH Negative 9. เลือดออกทางช่องคลอด 10. ความดันโลหิต Diastolic>90 mmHg 11. โรคเบาหวาน 12. ติดยาเสพติด ติดสุรา ๑3.ติดเชื้อ HIV 1. ครรภ์แฝด2 2 .โรคทางอายุรกรรม อย่างอื่นๆเช่นโลหิตจาง ไทรอยด์,SLE ,ติดเชื้อHIV,ป่วยทางจิต 3.เคยแท้ง 3 ครั้งติดต่อกัน ในช่วงไตรมาสที่ 2หรือมากกว่าติดต่อกันหรือเคยผ่าตัดปากมดลูก 4.โรคติดเชื้อทางอายุรกรรมที่ปานกลางหรือรุนแรง หรือสงสัยภาวะ sepsis การวินิจฉัยภาวะ sepsis ผู้ป่วยต้องมีอาการทางคลินิกอย่างน้อย 2ข้อ จาก 4 ข้อ ต่อไปนี้ อุณหภูมิ > 38ºc หรือ < 36ºc อัตราการเต้นของหัวใจ >90 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ >20 ครั้ง/นาที WBC>12,000เซลล์/ลบ.มม. หรือ <4,000 เซลล์/ลบ.มม.หรือมี Band form >10%   1. ครรภ์แฝด 3 ขึ้นไป 2. มีก้อนในอุ้งเชิงกราน 3. โรคหัวใจ 4 .ส่งตรวจPND

Timing of PPH Treatment

แนวทางการคัดกรองความเสี่ยงและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด 1.กิจกรรมพยาบาลห้องคลอด (รพช.) - ประเมินเบื้องต้นแรกรับ - ระยะที่หนึ่งของการคลอด - ระยะที่สองของการคลอด - ระยะที่สามของการคลอด - ระยะที่สี่ของการคลอด (หลังจากคลอด 2 ชม.) 2. พยาบาลห้องคลอด รายงานแพทย์เวร (รพช.) 3. พิจารณา Refer รพ.แม่ข่าย 4. รพ.แม่ข่ายพิจารณา Refer รพ.นครพิงค์

แผนการดำเนินงาน ปี 2560 เพิ่มศักยภาพของ MCH Board ระดับอำเภอในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพสต.ในการดำเนินงานฝากครรภ์คุณภาพตามแนวทางที่กำหนด รพ. ทุกแห่งใช้มาตรการ LABOR / PPH / PIH ของเขตสุขภาพที่ 1 และแนวทางการดำเนินงานห้องคลอดคุณภาพของจังหวัดเชียงใหม่ รพ./รพสต. มีการส่งต่อข้อมูลความเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ และใช้แนวทางการดูแลหญิงหลังคลอดตามแนวทางที่กำหนด

แผนการดำเนินงาน ปี 2560 5. รพ./รพ.สต. มีการใช้แนวทางการคัดกรองและดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด และ มีการใช้แนวการคัดกรองความเสี่ยง และส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ หญิงคลอด ตามแนวทางที่กำหนด 6. อบรมผดุงครรภ์โบราณ /หมอตำแย ในพื้นที่ห่างไกลที่การเดินทางยากลำบากและมีการคลอดที่บ้าน 7. ซ้อมแผน สถานการณ์ภาวะวิกฤตในห้องคลอดในทุกรพ. 8. พัฒนาการฝากครรภ์เชิงรุกในพื้นที่เขตเมือง 9. พัฒนารพ.ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอนามัยแม่และเด็กทุกรพ. 10. พัฒนาตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่ให้ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 1 ตำบลต่อ 1 อำเภอ 11. พัฒนาระบบการ กำกับ ติดตามการดำเนินงานแม่และเด็กให้มีประสิทธิภาพ

THANK YOU