นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน 05/12/61 ศูนย์อนามัยที่ 6 วรรณดี จันทรศิริ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ
วรรณดี จันทรศิริ 05/12/61 ประเด็นการนำเสนอ การพัฒนาบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนYFHS แบบบูรณาการ เกณฑ์มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนYFHS ฉบับบูรณาการ บริการสูขภาพที่มิตรสำหรับมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณการ
การให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น
การเดินทางและเวลาให้บริการไม่สะดวก การเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพ (accessibility and utilization of health services) คุณลักษณะของ YFHS นโยบายที่เป็นมิตร กระบวนการให้บริการที่เป็นมิตร ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก วัยรุ่นและเยาวชนมีส่วนร่วม มีการสื่อสาร/การมีส่วนร่วมของชุมชน การบริการเชิงรุกและเชื่อมบริการอื่นๆ การบริการที่เหมาะสมและครบวงจร การบริการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Youth Friendly Health Services เพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น อุปสรรคการเข้าถึง/ใช้บริการของวัยรุ่น วัยรุ่นไม่รู้ข้อมูลแหล่งให้บริการ สถานบริการไกลบ้าน/โรงเรียน การเดินทางและเวลาให้บริการไม่สะดวก ผู้ให้บริการไม่เป็นมิตร/ตัดสินวัยรุ่น ค่าใช้จ่าย ความเป็นส่วนตัว/ความลับ ฯ ข้อจำกัดทางสังคม/กฎหมาย/ ข้อจำกัดทางวัฒนธรรม ขจัดอุปสรรคการเข้าถึง และใช้บริการ วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ
การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน มาตรฐานคุณภาพ YFHS 1. นโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่เป็นมิตร 3. ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร 4. ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร 5. สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก 6. วัยรุ่นมีส่วนร่วม มีการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของ ชุมชน การบริการเชิงรุกและสัมพันธ์กับ บริการด้านอื่นโดยวัยรุ่นในชุมชน เพื่อเพิ่มความครอบคลุมและการ เข้าถึงบริการ 9. การบริการที่เหมาะสมและครบวงจร 10. การบริการสุขภาพที่มีประสิทธิผล 11. การบริการที่มีประสิทธิภาพ ขจัดอุปสรรคการเข้าถึงและใช้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น ธรรมชาติของโรคที่ไม่แสดง อาการจนกว่าจะถึงขั้นรุนแรง ประกอบกับขาดการวินิจฉัยโรค 2. วัยรุ่นขาดความรู้ 3. ข้อจำกัดด้านวัฒนธรรม ข้อจำกัดด้านนโยบายและ กฎหมาย ทัศนคติและความสามารถของผู้ ให้บริการ 6. บริการด้อยคุณภาพ 7. อัตราค่าบริการสูง ข้อจำกัดทางกายภาพของสถาน บริการ แหล่งข้อมูล: WHO 2003 The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers แหล่งข้อมูล: Karl L. Delhne , Gabriele Riedner , 2005 และ McIntyre P.,2002 05/12/61 วรรณดี จัทรศิริ 5
ความเชื่อมโยงกิจกรรมบริการ YFHS ของโรงพยาบาลกับ Setting เครือข่ายในชุมชน ประสานและเชื่อมโยง/ ส่งต่อบริการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ แกนนำวัยรุ่น สภาเด็กและเยาวชน ร่วม/สนับสนุนกิจกรรม หน่วยเคลื่อนที่/ประชาสัมพันธ์บริการ สถานประกอบการ ประสานและเชื่อมโยง/ส่งต่อบริการ พัฒนาศักยภาพแกนนำ ส่งต่อบริการ หน่วยเคลื่อนที่ /ประชาสัมพันธ์ โรงเรียน ประสานและเชื่อมโยง/ส่งต่อบริการ ระบบดูแลช่วยเหลือ คัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง Friend Corner ชุมนุมเอดส์ ฯ พัฒนาศักยภาพแกนนำ สอนเพศศึกษา/RH หน่วยเคลื่อนที่ /ประชาสัมพันธ์บริการ โรงพยาบาล YFHS จัดตั้งคลินิกวัยรุ่น / ผสมผสานบริการ ให้บริการดูแลสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน ส่งต่อบริการสังคม / การแพทย์ กิจกรรมเชิงรุก เชื่อมโยงบริการกับสถานศึกษา / สถานประกอบการ / ชุมชนและอื่น ๆ ดำเนินงานตามมาตรฐาน ฯ
มาตรฐานYFHS แนวทางการดำเนินงานตาม คุณภาพที่พึงประสงค์ เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและได้รับบริการตามความต้องการ
มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลาการผู้ให้บริการ มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ
องค์ประกอบที่ ๑ การบริหารจัดการ องค์ประกอบที่ ๑ การบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย คณะทำงาน /คณะกรรมการ แผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ การสื่อสารภายใน การสนับสนุนทรัพยากร การกำกับ ติดตามและประเมินผล
องค์ประกอบที่ ๒ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและ การสร้างความต้องการในการใช้บริการ ภาคีและเครือข่าย การประชาสัมพันธ์ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
องค์ประกอบที่ ๓ บริการที่ครอบคลุมความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ ๓ บริการที่ครอบคลุมความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย บริการที่ให้ข้อมูล บริการให้คำปรึกษา บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ
องค์ประกอบที่ ๔ ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อวัยรุ่น องค์ประกอบที่ ๔ ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อวัยรุ่น ระบบบริการ สถานที่ให้บริการ บุคลากรผู้ให้บริการ
มีปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง วัยรุ่นทั่วไป บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน คลินิกวัยรุ่น บริการ ความรู้ การปรึกษา บริการสุขภาพ ดูแลส่งต่อ มีปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง วัยรุ่นทั่วไป
คลินิกวัยรุ่น ตั้งที่ไหน/ใครรับผิดชอบ ? กลุ่มงาน เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน (รพช.) Counseling ARV STI ANC FP ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต OSCC อนามัยโรงเรียน ตัวอย่าง
ความเชื่อมโยงภายในรพ ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต Counselling ARV เวชกรรม OPD STI ANC FP ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต OSCC อนามัยโรงเรียน
แนวทางการพัฒนา โรงพยาบาลศึกษาแบบประเมินตนเองตาม มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน (YFHS) นำข้อที่ไม่ผ่านการประเมินตนเอง กำหนดเป็น โอกาสพัฒนา (opportunity for improvement OFI) วิธีการ มาตรการ หรือ แผนงาน/โครงการ (approach)เพื่อให้บรรลุเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนวัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ ข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของวัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่ ข้อมูลสภาพแวดล้อมและปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อปัญหาของวัยรุ่น เช่น สถานบันเทิง ร้านเกม ร้านเหล้า หอพัก เป็นต้น ข้อมูลด้านสถานศึกษา และสถานประกอบการ จำนวนการให้บริการจำแนกตามปัญหาสุขภาพวัยรุ่นที่มารับบริการประเภทต่างๆ
สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนวัยรุ่นที่ได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจ (Psychosocial care) 7. ข้อมูลการคลอดโดยมารดาอายุ 15-19 ปี และมารดาอายุ 10 - 14 ปี 8. ข้อมูลวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดหลัง คลอดหรือแท้งก่อนออกจาก รพ. 9. ร้อยละของวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิด ด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร (ห่วงอนามัยหรือยาฝัง คุมกำเนิด) หลังคลอดหรือแท้งก่อนออกจากโรงพยาบาล 10. ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี
สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ 11. จำนวนและร้อยละของวัยรุ่นและเยาวชนที่มีการแท้ง 12. ข้อมูลการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และผู้ ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ 13. จำนวนวัยรุ่นและเยาวชน ที่ขอรับการปรึกษาทาง โทรศัพท์ หรือทางสื่อออนไลน์ 14. จำนวนวัยรุ่นที่รับการส่งต่อจากเครือข่ายเพื่อรับ บริการและจำนวนวัยรุ่นที่ส่งต่อไปยังเครือข่าย 15. ข้อมูลอื่น ๆ
คณะผู้เยี่ยมประเมินระดับเขต พัฒนาคุณภาพบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่นและมาตรฐานYFHS โรงพยาบาล ประเมินตนเอง รพ. ที่พร้อม(คะแนน>/= 2.0 ) แจ้งความประสงค์ไปยัง สสจ.พร้อมส่งแบบประเมินตนเอง เยี่ยมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลตามมาตรฐาน ฯ ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด ไม่ผ่าน ผ่าน 2.0 ขึ้นไป รายงานผลให้ศูนย์อนามัย คณะผู้เยี่ยมประเมินระดับเขต เยี่ยมประเมินโรงพยาบาลที่ผ่านระดับ 2.0 ขึ้นไป พิจารณาและสรุปผลการประเมินรับรอง คณะกรรมการ ส่วนกลาง รายงานผลการประเมินรับรองมายังส่วนกลาง สรุปผลการประเมินและนำเสนอกรมฯให้ความเห็นชอบ แจ้งผลการประเมินให้ จังหวัดและโรงพยาบาลทราบ กรมอนามัย ดำเนินการมอบเกียรติบัตร ปีละครั้ง
Profile ของสถานบริการ วรรณดี จันทรศิริ 12/5/2018 Profile ของสถานบริการ ชื่อสถานบริการ ประเภท รพศ/รพท/รพช/ อื่นๆ จำนวนเตียง ที่ตั้ง โทรศัพท์โรงพยาบาล Fax ชื่อผู้อำนวยการ ชื่อทีมแพทย์ที่รับผิดชอบYFSH ชื่อผู้ประสาน โทรศัพท์ผู้ประสาน Email ผู้ประสาน บริการสูขภาพที่มิตรสำหรับมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณการ
หลักฐานที่ปรากฏ/วิธีการ แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (ฉบับบูรณาการ) มาตรฐาน ผลการประเมินตนเอง มี ไม่มี ไม่แน่ใจ หลักฐานที่ปรากฏ/วิธีการ 1. วิสัยทัศน์1 พันธกิจ2 และนโยบาย3 โรงพยาบาลมีนโยบายที่มุ่งไปสู่การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน4 เกณฑ์ตัดสิน โรงพยาบาลมีนโยบายการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน เป็นลายลักษณ์อักษร เจ้าหน้าที่ ภาคีเครือข่าย ตัวแทนวัยรุ่นและเยาวชน มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ ภาคีเครือข่ายและตัวแทนวัยรุ่นและเยาวชน …………. ………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………….
สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ โรงพยาบาลมีระบบบริการบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) ตามมาตรฐานฉบับบูรณาการ Process เครือข่ายการให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS ที่เข้มแข็งและมีคุณภาพทั้งในโรงพยาบาล รพ.สต. สถานศึกษาและในชุมชน Output Intermediate Outcome วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมากขึ้น(Accessibility) ลดปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นและเยาวชน (การตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ HIV ปัญหาพฤติกรรม ความรุนแรง การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด ฯลฯ) Outcome/ Impact
โรงพยาบาลที่ผ่านการพิจารณาตัดสินและประเมินรับรองโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน YFHS (ปีพ.ศ.2555 -2559) ข้อมูล ณ วันที่ 6ต.ค.2559
โครงการ การสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพวิทยากรในการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว (ครู ก) กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่น ระดับจังหวัด สื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว นักเรียนแกนนำในระดับชั้นมัธยมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาสชั้นปีที่ 1-3 และครู