แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง ปีงบประมาณ 2559 - 2561
โรงพยาบาลที่เป็นเลิศด้านบริการในเขตสุขภาพที่ 5 วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลที่เป็นเลิศด้านบริการในเขตสุขภาพที่ 5 ผู้รับบริการ ประทับใจ พึงพอใจ ปลอดภัย ชุมชน เข้มแข็ง ยั่งยืน พฤติกรรมสุขภาพ เหมาะสม ประชาชน ประสิทธิผล บริการสุขภาพ สะดวก รวดเร็ว มาตรฐาน สร้างสรรค์ เทคโลโลยี ทันสมัย ESB สร้างเสริมสุขภาพชุมชน ครอบคลุม ต่อเนื่อง ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วม คุณภาพ ปชส. การตลาด ปรับปรุงระบบ ผ่านช่องทางสื่อ ที่หลากหลาย เพิ่ม ศักยภาพ การมีส่วนร่วม ของสถานบริการ และภาคีเครือข่าย บริการสุขภาพ ใน ร.พ. นอก ร.พ. พัฒนาคุณภาพบริการ ทั่วทั้งองค์กร เร่งรัด พื้นที่ให้บริการเพื่อเพิ่มความสะดวก ปรับปรุง ประสิทธิภาพ นวัตกรรม บริการฯ สร้างเสริมฯ การผลิต พัฒนาองค์กร บุคลากร ปริมาณ คุณภาพ พัฒนาศักยภาพระบบ IT ให้สามารถรองรับปริมาณการใช้งานที่เพิ่มขึ้น สร้างบรรยากาศการทำงาน ที่ดีในทุกระดับขององค์กร
ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลบ้านโป่ง วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลที่เป็นเลิศด้านบริการในเขตสุขภาพที่ 5 1. ให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ สะดวก รวดเร็วภายใต้เทคโนโลยีทันสมัยด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ 2. สร้างเสริมสุขภาพชุมชนอย่างครอบคลุม ต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของภาคี พันธกิจ กลยุทธ์ที่ 1 : ขยายบริการสุขภาพทั้งในและนอกสถานบริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 3 : เร่งรัดพัฒนาคุณภาพระบบบริการทั่วทั้งองค์กร กลยุทธ์ที่ 5 : ปรับปรุงพื้นที่ให้บริการเพื่อความสะดวกในการรับบริการ กลยุทธ์ที่ 7 : เพิ่มบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 8 : พัฒนาศักยภาพระบบ IT รองรับปริมาณการใช้งานที่เพิ่มขึ้น 9 กลยุทธ์ / กลวิธี กลยุทธ์ที่ 4 : เพิ่มการผลิตนวัตกรรมบริการสุขภาพและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่หลากหลาย กลยุทธ์ที่ 6 : เพิ่มศักยภาพการดูแลต่อเนื่องและการมีส่วนร่วมของสถานบริการในพื้นที่และภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 9 : สร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีในทุกระดับขององค์กร กลยุทธ์ที่ 2 : ปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์และการตลาดทั้งภายในและภายนอกผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย 14 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ + 26 KPI
โรงพยาบาลที่เป็นเลิศด้านบริการในเขตสุขภาพที่ 5 ความหมายของความเป็นเลิศด้านบริการ - เข้าถึง รวดเร็ว ปลอดภัย ประทับใจ พัฒนา ความหมายในเขตสุขภาพที่ 5 คือ Benchmark กับโรงพยาบาลระดับ S ในเขตสุขภาพที่ 5 หัวหิน ประจวบ พระพุทธเลิศหล้า พหลพลพยุหเสนา เจ้าพระยายมราช พระจอมเกล้า Service plan Excellence 5 ปี หัวใจและหลอดเลือด - ทารกแรกเกิด มะเร็ง อุบัติเหตุ เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ วิจัย
3. สร้างความเข้มแข็งของชุมชน กลยุทธ์ที่ 3 : เร่งรัดพัฒนาคุณภาพระบบบริการทั่วทั้งองค์กร 1. Safety culture 2. สร้างความประทับใจ 3. สร้างความเข้มแข็งของชุมชน กลยุทธ์ที่ 6 : เพิ่มศักยภาพการดูแลต่อเนื่องและการมีส่วนร่วมของสถานบริการในพื้นที่และภาคีเครือข่าย ประสิทธิผล 1. ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพ 2. มีเทคโนโลยีทันสมัย 3. พฤติกรรมบริการ กลยุทธ์ที่ 4 : เพิ่มการผลิตนวัตกรรมบริการสุขภาพและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่หลากหลาย คุณภาพ กลยุทธ์ที่ 5 : ปรับปรุงพื้นที่ให้บริการเพื่อความสะดวกในการรับบริการ 1. นวัตกรรม/R2R 2. เพิ่มบริการใหม่ที่จำเป็น 3. สภาพแวดล้อมเหมาะสม 4. เพิ่มการตลาด กลยุทธ์ที่ 2 : ปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์และการตลาดทั้งภายในและภายนอกผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1 : ขยายบริการสุขภาพทั้งในและนอกสถานบริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 8 : พัฒนาศักยภาพระบบ IT รองรับปริมาณการใช้งานที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ์ที่ 9 : สร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีในทุกระดับขององค์กร กลยุทธ์ที่ 7 : เพิ่มบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ พัฒนาองค์กร 1. บุคลากร (มีสมรรถนะ มีความสุข) 2. ITและระบบสารสนเทศ
3. สร้างความเข้มแข็งของชุมชน โครงการ Safety for all 1. Safety culture 2. สร้างความประทับใจ 3. สร้างความเข้มแข็งของชุมชน โครงการ New care โครงการ Exit care ประสิทธิผล โครงการสุขภาพดี วิถีชุมชน โครงการ Innovative Hospital 1. ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพ 2. มีเทคโนโลยีทันสมัย 3. พฤติกรรมบริการ โครงการก้าวล้ำพัฒนา service plan สาขาอุบัติเหตุ คุณภาพ โครงการครุภัณฑ์ทันสมัย โครงการสานสัมพันธ์สู่ความเป็นเลิศ โครงการ Lean Frontline 1. นวัตกรรม/R2R 2. เพิ่มบริการใหม่ที่จำเป็น 3. สภาพแวดล้อมเหมาะสม 4. เพิ่มการตลาด โครงการ Innovative in health care (KM) โครงการ HA Formula ประสิทธิภาพ โครงการ New clinic โครงการ BPH Plus โครงการ รพ.สต.ดี๊ดี โครงการ Happy workplace โครงการ PR Excellence โครงการ Strategic Recruitment โครงการ Smart person โครงการ Work life balance พัฒนาองค์กร 1. บุคลากร (มีสมรรถนะ มีความสุข) 2. ITและระบบสารสนเทศ โครงการ Genius IT
โครงการ Innovative in health care (KM) โครงการ HA Formula โครงการ Safety for all โครงการ Lean Frontline โครงการ รพ.สต.ดี๊ดี โครงการ Exit care โครงการครุภัณฑ์ทันสมัย โครงการ Happy workplace โครงการ New care โครงการสานสัมพันธ์สู่ความเป็นเลิศ OD โครงการ Strategic Recruitment โครงการสุขภาพดี วิถีชุมชน โครงการ BPH Plus โครงการ Innovative Hospital โครงการ Smart person โครงการ New clinic โครงการ Work life balance โครงการก้าวล้ำพัฒนา service plan สาขาอุบัติเหตุ โครงการ PR Excellence โครงการ Genius IT
สรุปผลตัวชี้วัด แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง ปีงบประมาณ 2559 รอบ 8 เดือน (ไตรมาส 3 : เม.ย. 59 - 31 พ.ค. 59)
1. ด้านประสิทธิผล ( EFFECTIVENESS ) : เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัย พึงพอใจ และประทับใจ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59-1 พ.ค.59 ET1.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ AE รุนแรง ระดับ GHI ขึ้นไป ได้รับการแก้ไข ใน 30 วัน ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 (1/1) ไม่มี (0) NA รอข้อมูล P P
1. ด้านประสิทธิผล ( EFFECTIVENESS ) : เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัย พึงพอใจ และประทับใจ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59-1 พ.ค.59 ET1.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ OPD ร้อยละ 85 อยู่ระหว่างประมวลผลรอบ 6 เดือน ผลรอบ 6 เดือน ร้อยละ 83.85 รอบ 9 เดือน อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงาน กำหนดส่ง 17 มิ.ย. 59 ไม่ผ่าน × แบบสอบถาม ทั้งหมด 400 ชุด แบบสอบถามที่ได้รับกลับ+มีข้อมูลครบถ้วน จำนวน 382 ชุด
1. ด้านประสิทธิผล ( EFFECTIVENESS ) : เพื่อให้ผู้รับบริการมีความปลอดภัย พึงพอใจ และประทับใจ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59-1 พ.ค.59 ET1.3 ร้อยละของผู้รับบริการรายใหม่ที่ได้รับการแนะนำ/บอกต่อ 2,000 คน ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × จำนวนผู้รับบริการรายใหม่ 8 เดือน (ต.ค. 58 – พ.ค. 59) จำนวน 9,075 คน เป็นรายใหม่ ที่ได้รับการแนะนำ บอกต่อ 53 คน/เดือน เป้าหมาย 167 คน/เดือน : 2,000 คน/ปี
53 ฉบับ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ (รายใหม่) ต่องานบริการด่านหน้า (พ.ค. 59) ตามสิทธิ บัตรทอง/ปกส. 19 ราย (ร้อยละ 35.19) คำแนะนำบอกต่อจากญาติ/เพื่อน 15 ราย (ร้อยละ 27.77) - คลินิกอาชีวเวชศาสตร์ 14 ราย (ร้อยละ 93.33) - ไม่ระบุ 1 ราย (ร้อยละ 6.67) ใกล้บ้าน/เดินทางสะดวก 10 ราย (ร้อยละ 18.52) บริการดี รวดเร็วทันใจ 5 ราย (ร้อยละ 9.26) 5. ส่งต่อ 5 ราย (ร้อยละ 9.26)
1. ด้านประสิทธิผล ( EFFECTIVENESS ) : เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด พื้นที่ เป้าหมาย ปี 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 – 16 มิ.ย. 59 ET1.4 อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เฉพาะเขตเมืองบ้านโป่ง เพิ่มไม่เกิน ร้อยละ 0.3 39/24400 = 0.16 87/24400 = 0.36 107/24400 = 0.44 รวมอำเภอ บ้านโป่ง ภาพรวมทั้งอำเภอบ้านโป่ง ปชก. 178,743 คน รายใหม่ DM 523 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.29 รายใหม่ HT 896 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.51 รวม DM และ HT รายใหม่ทั้งสิ้น 1,419 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.79 ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × P ไม่ผ่าน ×
เบาหวาน ไม่ผ่าน × กลุ่มเป้าหมายอำเภอบ้านโป่ง 154,343 คน กลุ่มเป้าหมายอำเภอบ้านโป่ง 154,343 คน อัตราป่วยรายใหม่เบาหวาน 521 คน คิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้น 0.34 ไม่ผ่าน ×
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง ไม่ผ่าน × กลุ่มเป้าหมายอำเภอบ้านโป่ง 154,343 คน กลุ่มเป้าหมายอำเภอบ้านโป่ง 154,343 คน อัตราป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง 892 คน คิดเป็นอัตราเพิ่มขึ้น 0.578 ไม่ผ่าน ×
1. ด้านประสิทธิผล ( EFFECTIVENESS ) : เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ต.ค.58 – ธ.ค.58 ไตรมาส 2 ม.ค.59 – มี.ค.59 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 ET1.5 จำนวนชุมชนที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ร้อยละ 24 กำลังดำเนินการ ผ่าน 23 ชุมชน คิดเป็น ร้อยละ 92 P หมายเหตุ : ปี 58 ผ่านเกณฑ์ 3 ใน 25 ชุมชน (ร้อยละ 12)
2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) ตัวชี้วัด P P P : เพื่อให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ รวดเร็ว ภายใต้เทคโนโลยีทันสมัย ด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 59 ไตรมาส 1 ต.ค.58 – ธ.ค.58 ไตรมาส 2 ม.ค.59 – มี.ค.59 ไตรมาส3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 QT1.1 จำนวนการได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA และมาตรฐานวิชาชีพ (LA, X-ray, QA, ไตเทียม, เภสัชกรรม) ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA และมาตรฐานวิชาชีพ X-ray, QA, ไตเทียม, ผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA และมาตรฐานวิชาชีพ X-ray, QA, P P P
มีแผนพัฒนาครอบคลุมตามเกณฑ์ 2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) : เพื่อให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ รวดเร็ว ภายใต้เทคโนโลยีทันสมัย ด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ต.ค.58 – ธ.ค.58 ไตรมาส 2 ม.ค.59 – มี.ค.59 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 QT1.2 Service plan สาขาอุบัติเหตุ ผ่านเกณฑ์ระดับ 2 มีแผนพัฒนาครอบคลุมตามเกณฑ์ P P P มีแผนพัฒนาครอบคลุมตามเกณฑ์ ระดับ 2 1. มีระบบ Trauma Fast track 2. มีเครื่องมือที่พร้อมผ่าตัดสมอง เช่น อุปกรณ์เปิดกะโหลก 3. มีระบบการส่งต่อผู้ป่วยบาดเจ็บสมองระหว่างสถานบริการ (ทั้ง refer in และ refer out) ภายในระยะเวลา 40 นาที 4. มีห้องปฏิบัติการและคลังเลือดที่สามารถให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บให้พ้นภาวะวิกฤต
2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) ปี 60 มีแพทย์ผ่าตัดสมอง (อยู่ในแผน ปี 60) มีอุปกรณ์เฝ้าการติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย เช่น เครื่องวัดแรงดันในโพรงกะโหลกศีรษะ (จะจัดทำแผนงบลงทุน หลังจากได้แพทย์เฉพาะทาง) ทำ MRI หรือ MRA ทำ Angiographic Embolization ปี 61 มีห้องผ่าตัด และห้องพักฟื้น ที่มีบุคลากรที่พร้อมให้บริการผ่าตัดสมองได้ตลอดเวลา มีหอผู้ป่วยวิกฤตแยกเฉพาะผู้ป่วยบาดเจ็บสมอง (ร่างแผนพัฒนา รพ.)
ตามตัวชี้วัด Service plan สาขาอุบัติเหตุ 2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) ผลการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด Service plan สาขาอุบัติเหตุ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59-31 พ.ค.59 - มีการเก็บข้อมูลการบาดเจ็บทั้ง 19 สาเหตุ วิเคราะห์ค่า P.S. ≥ 0.75 ไตรมาส 1 : 0.67 ไตรมาส 2 : 0.48 ไตรมาส 3 : 0.48 อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เกณฑ์ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน ตาย 18 ราย 11.58 ต่อแสนประชากร ตาย 12 ราย รวมตาย 30 ราย 19.30 ต่อแสนประชากร รวมตาย 42 ราย 27.02 ต่อแสนประชากร การจัดหาเครื่อง CT Scan ก.รังสีวิทยา กำลังดำเนินการ หา spec กลาง - ระบบ PACC อยู่ระหว่างดำเนินการ กำลังเดินสายระบบ network + ติดตั้งอุปกรณ์ใช้งาน ก.ค. : ทดลองระบบ 1 ส.ค. : ใช้งานเต็มระบบ ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน ×
อยู่ระหว่างดำเนินการ 2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) : เพื่อให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ รวดเร็ว ภายใต้เทคโนโลยีทันสมัย ด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 QT1.3 จำนวนของนวัตกรรมที่สามารถประยุกต์ใช้ในการบริการสุขภาพหรือสร้างเสริมสุขภาพชุมชน 6 เรื่อง อยู่ระหว่างดำเนินการ 2 เรื่อง ไข้เลือดออก - DHS PCA QT1.4 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยของผู้มารับบริการที่งานผู้ป่วยนอก(ไม่นับคนไข้นัด/ มาคลินิกทั่วไป ช่วงเวลา 8.00-16.00 ไม่รวมวันหยุด) 1.20 ชม. 1.30 ชม. 1.31 ชม. 1.45ชม. ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน ×
ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยของผู้มารับบริการที่งานผู้ป่วยนอก รายการ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย. – 17 มิ.ย. รอซักประวัติ 38 นาที 36 นาที 41นาที รอพบแพทย์ 21 นาที 23 นาที รอรับยา 25 นาที 26 นาที 33 นาที (ไม่นับคนไข้นัด/ มาคลินิกทั่วไป ช่วงเวลา 8.00-16.00 ไม่รวมวันหยุด) ข้อมูลจากโปรแกรม HosXP ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2559
รอข้อมูล 2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) ตัวชี้วัด ปี 57 ปี 58 ปี 59 : เพื่อให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ รวดเร็ว ภายใต้เทคโนโลยีทันสมัย ด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ปี 57 ปี 58 ปี 59 QT1.5 ร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อครุภัณฑ์ทางการแพทย์/ครุภัณฑ์สนับสนุนการให้บริการ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1 งบส่วนกลาง จัดซื้อในแผน จัดซื้อนอกแผน NA รวมคิดเป็นร้อยละ จัดซื้อนอกแผน จัดซื้อในแผน NA รอข้อมูล
2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) P P ร้อยละ 80 ร้อยละ 85.71 (6/7) (4/5) NA : เพื่อให้บริการสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน สร้างสรรค์ รวดเร็ว ภายใต้เทคโนโลยีทันสมัย ด้วยพฤติกรรมบริการที่เป็นเลิศ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ต.ค.58 – ธ.ค.58 ไตรมาส 2 ม.ค.59 – มี.ค.59 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 QT1.6 ร้อยละของจำนวน ข้อร้องเรียนด้านพฤติกรรมบริการได้รับการแก้ไข ภายใน 30 วัน ร้อยละ 80 ร้อยละ 85.71 (6/7) (4/5) NA P P
2. ด้านคุณภาพ (QUALITY) : เพื่อสร้างเสริมสุขภาพชุมชนอย่างครอบคลุม ต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 QT2.1 ร้อยละของชุมชนในเขตเทศบาลเมืองบ้านโป่งที่มีการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพทุกปีโดยชุมชนเป็นเจ้าภาพ 25 ชุมชน 6/25 ชุมชน ร้อยละ 24 - (PCUเมือง จัดทำโครงการ 7 โครงการ อยู่ในขั้นตอน เสนอ สสจ.ลงนาม) ไม่ผ่าน × ผลงานเดิม ปีงบประมาณ 2558 : 3/25 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 12
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อขยายบริการสุขภาพ ทั้งในและนอกสถานบริการ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC1.1 จำนวนบริการใหม่ด้านสุขภาพนอกโรงพยาบาลต่อปี เปิดศูนย์แพทย์ทางเลือก (แพทย์แผนไทย) - คลินิกฝังเข็ม - ห้องอบสมุนไพร - นวดแผนไทย * อยู่ในระหว่างดำเนินการเขียนเบิกวัสดุ/ครุภัณฑ์* P
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อขยายบริการสุขภาพ ทั้งในและนอกสถานบริการ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC1.2 จำนวนบริการใหม่ด้านสุขภาพในโรงพยาบาลต่อปี - LD จิตเวช - high risk NB clinic - คลินิกข้อเข่าเสื่อม - คลินิกโรคจากการทำงาน) อยู่ระหว่างดำเนินการ เขียนโครงการ อยู่ระหว่างเสนอ สสจ.อนุมัติโครงการ LD จิตเวช กำลังดำเนินโครงการ high risk NB clinic เปิดบริการแล้ว ทุกวันพุธเช้า คลินิกข้อเข่าเสื่อม ทุกวันพุธบ่าย คลินิกโรคจากการทำงาน เขียนเบิกวัสดุ/ครุภัณฑ์แล้ว รอสถานที่ P
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์และการตลาดทั้งภายในและภายนอกผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย EC2.1 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ “PR Excellence” : เพื่อปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์และการตลาดทั้งภายในและภายนอกรพ.ผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย : เพื่อเพิ่มผู้รับบริการ และเพิ่มรายรับ ผลการรายงาน ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC2.1 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ “PR Excellence” มีจำนวนผู้รับบริการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี ทักษะการสื่อสารและพฤติกรรมบริการดีขึ้น ร้อยละ 80 ไม่ผ่าน × (ไม่ตรงวัตถุประสงค์)
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อเร่งรัดพัฒนาคุณภาพระบบบริการทั่วทั้งองค์กร ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC2.1 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ “PR Excellence” มีจำนวนผู้รับบริการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี มีจำนวนผู้รับบริการ ไตรมาส 2 (ตุลาคม 58 – มีนาคม 2559) จำนวน 212,114 ราย ---- มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น --- เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา : จำนวนผู้รับบริการ ปี 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.32 เมื่อเทียบกับปี 2556 : จำนวนผู้รับบริการ ปี 2558 เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.68 เมื่อเทียบกับปี 2557
กำลังดำเนินการจัดทีมการตลาด สถิติ หน่วยนับ ปีงบประมาณ 2556 2557 2558 จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด ครั้ง 371,197 392,034 420,114 จำนวนผู้รับบริการเฉลี่ยต่อวัน 1,298 1,371 1,469 ประกันสังคม 67,369 ร้อยละ 18.15 72,874 ร้อยละ 18.59 87,838 ร้อยละ 20.91 ชำระเงิน อื่นๆ 35,247 ร้อยละ 9.50 34,255 ร้อยละ 8.74 38,400 ร้อยละ 9.14 กำลังดำเนินการจัดทีมการตลาด
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อเร่งรัดพัฒนาคุณภาพระบบบริการทั่วทั้งองค์กร ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC3.1 จำนวน R2R ที่นำเสนอในงานมหกรรมคุณภาพโรงพยาบาล R2R 1 เรื่อง/ปี ทุกกลุ่มงาน 2 เรื่อง/ปี NA รอดำเนินการ งานมหกรรมคุณภาพ 5 เรื่อง/ปี ไม่ผ่าน × จำนวนกลุ่มงาน ทั้งหมด 24 กลุ่มงาน / 58 หน่วยงาน ผลงานเดิม ปี 2558 : 5 เรื่อง
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อเพิ่มการผลิตนวัตกรรมบริการสุขภาพและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่หลากหลาย ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC4.1 จำนวนนวัตกรรมบริการสุขภาพในงานมหกรรมคุณภาพ 2 เรื่อง/ปี รอจัดงานมหกรรมคุณภาพ (ไม่ผ่านเกณฑ์) 2 เรื่อง EC4.2 จำนวนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในงานมหกรรมคุณภาพ
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อปรับปรุงพื้นที่ให้บริการและสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มความสะดวกในการรับบริการ และความสวยงาม ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC5.1 ร้อยละของการดำเนินการปรับปรุงพื้นที่ให้บริการและสิ่งแวดล้อมตามแผนฯ ร้อยละ 80 NA รอข้อมูล
3. ด้านประสิทธิภาพ ( EFFICIENCY ) : เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแลต่อเนื่องของสถานบริการในพื้นที่และภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 EC6.1 จำนวนสาขาของ service plan ที่มี guide line เชื่อมโยง รพสต. และมีเครือข่ายที่ชัดเจน มี guide line เชื่อมโยง รพสต. ครบ 13 สาขา 1.มี guide line เชื่อมโยง รพสต. 10 สาขา ขาด -สาขามะเร็ง สาขาแพทย์แผนไทย -สาขาปลูกถ่ายฯ 2.จัดทำโครงการเพื่อเพิ่มการเชื่อมโยงกับ รพ.สต. 7 สาขา 2.เริ่มดำเนินโครงการแล้ว 7 สาขา
3. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) : เพื่อเพิ่มบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB1.1 อัตราการลาออก หรือย้ายสายงานของบุคลากร (ใหม่+ เก่า) ลดลง ≤ ร้อยละ 4 ร้อยละ 5.80 ร้อยละ 6.33 NA ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน × ไม่ผ่าน ×
3. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) : เพื่อเพิ่มบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB1.2 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการเพิ่มสมรรถนะผ่านเกณฑ์ ≥ร้อยละ 75 ร้อยละ 16.24 ข้อมูลรวม 2 ไตรมาส (31 ต.ค.58 ถึง 31 มี.ค.59) ร้อยละ 40.79 (ข้อมูล ณ 31 พ.ค.59) ไม่ผ่าน × เป็นข้อมูลสะสม ประเมินผลในไตรมาส 4
3. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) : เพื่อสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีในทุกระดับขององค์กร ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB2.1 ร้อยละของความพึงพอใจในสมดุลชีวิตและการทำงานของบุคลากร ≥ ร้อยละ 73 ระหว่างรวบรวมแบบสอบถามจากหน่วยงาน ผลประเมิน รอบ 6 เดือน ร้อยละ 71.92 ระหว่างแจกแบบสอบถามหน่วยงาน ไม่ผ่าน × ปี 56 : ร้อยละ 68.4 ปี 57 : ร้อยละ 69.7 ปี 58 : ร้อยละ 70.7 ประเมินผล ปีละ 2 ครั้ง (รอบ 6 เดือน, 12 เดือน)
4. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB3.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บริการระบบนัด Online (สะสม) ร้อยละ 70 73 7 (ไม่มีการใช้บริการเพิ่มขึ้น) P ระบบนัด online ได้นำร่องที่ ก.ทันตกรรม ปัญหา : ขาดการประชาสัมพันธ์
4. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB3.2 ร้อยละขยายระบบบาร์โค๊ททุกระบบบริการที่มีความต้องการใช้เครื่องอ่าน Barcode ร้อยละ 80 อยู่ระหว่างจัดซื้ออุปกรณ์ 100% P P สำรวจทุกหน่วยงาน มีหน่วยงานที่ต้องการใช้บาร์โค๊ท 6 หน่วยงาน จำนวน 16 เครื่อง
4. ด้านการพัฒนาองค์กร (CAPACITY BUILDING ) ตัวชี้วัด เป้าหมายปีงบประมาณ 2559 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 เม.ย.59 - 31 พ.ค.59 CB3.3 จำนวนข้อมูลใหม่ที่ดึงได้จากโปรแกรมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 3 ข้อมูลเมื่อเทียบกับ ปีที่ผ่านมา = 8 ข้อมูล มีรายงาน ที่เกิดขึ้นใหม่ 48 ข้อมูล ที่เกิดขึ้นใหม่ 51 ข้อมูล 50 ข้อมูล P P P ปี 58 : มีจำนวนข้อมูลที่ดึงได้ 5 ข้อมูล
× × × × × × × × × × × × × × ด้านประสิทธิผล ET1.1 ET1.4 ET1.2 ET1.5 ด้านคุณภาพ QT1.1 QT1.4 QT1.2 QT1.5 QT1.3 QT1.6 QT2.1 × × P P × P P P × × P × ด้านประสิทธิภาพ EC1.1 EC2.1 EC1.2 EC3.1 EC5.1 EC4.1 EC6.1 EC4.2 × ด้านพัฒนาองค์กร CB1.1 CB3.1 CB1.2 CB3.2 CB2.1 CB3.3 P × × P P × × P P × × × P
ผ่านเกณฑ์ จำนวน 12 ตัวชี้วัด ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 14 ตัวชี้วัด ผ่าน 0 กลยุทธ์ ไม่ผ่าน 9 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : ขยายบริการสุขภาพทั้งในและนอกสถานบริการครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ที่ 3 : เร่งรัดพัฒนาคุณภาพระบบบริการทั่วทั้งองค์กร กลยุทธ์ที่ 5 : ปรับปรุงพื้นที่ให้บริการเพื่อความสะดวกในการรับบริการ กลยุทธ์ที่ 7 : เพิ่มบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 8 : พัฒนาศักยภาพระบบ IT รองรับปริมาณการใช้งานที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ์ที่ 4 : เพิ่มการผลิตนวัตกรรมบริการสุขภาพและนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่หลากหลาย กลยุทธ์ที่ 6 : เพิ่มศักยภาพการดูแลต่อเนื่องและการมีส่วนร่วมของสถานบริการในพื้นที่และภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 9 : สร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีในทุกระดับขององค์กร กลยุทธ์ที่ 2 : ปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์และการตลาดทั้งภายในและภายนอกผ่านช่องทางสื่อที่หลากหลาย ผ่านเกณฑ์ จำนวน 12 ตัวชี้วัด ไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 14 ตัวชี้วัด