บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

7.3 Example of solution of Poisson’s Equation
Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
Algorithm to Find Frequent Itemsets
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
Inverse Laplace Transforms
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ARTIFICIAL INTELLIGENCE
Ch 9 Second-Order Circuits
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Part III, Chapter 10 Numerical Differentiation and Integration Numerical Differentiation and Integration.
PHP FRAMEWORK – Web Programming and Web Database Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
โอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการลูกเสือ
ติวสอบออนไลน์ หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และ
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
อนุพันธ์ (Derivatives)
Engineering Mathematics II 5 ธันวาคม 2546
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Information System Development
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
การวิเคราะห์การไหลของกำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า
Calculus C a l c u l u s.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
Property Changes of Mixing
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
หน่วยที่ 1. ความหมายและประเภทของโครงการ
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
แผนที่และสัญลักษณ์ต่างๆ ในแผนที่
การผลิตก๊าซชีวภาพที่เตรียมจากทะลายปาล์มที่ผ่านการปรับสภาพ
แก๊ส (Gas) ปิติ ตรีสุกล โครงการจัดตั้งภาควิชาเคมี
Calculus I (กลางภาค)
งานและพลังงาน.
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
High-Order Systems.
สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็ม จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
บทที่ 3 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
การจัดระบบเฝ้าระวังยาเสพติดในระดับพื้นที่จังหวัดพิจิตร
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
เอกสารประกอบการสอนกฎหมายปกครอง1 ครั้งที่ 3
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
คณิตศาสตร์ ม.6 เทอม 1 โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพของเด็กไทย
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 เทคนิคการหาปริพันธ์ (Techniques of Integration) สูตรปริพันธ์พื้นฐาน (Basic Integration Formulas) การหาปริพันธ์แบบแยกส่วน (Integration by Parts) การแยกเศษส่วนย่อย (Partial Fractions) การแทนที่ด้วยตรีโกณมิติ (Trigonometric Substitutions) กฎของโลปิตาล (L’Hopital’s Rule ) ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ (Improper Integrals)

7.1 สูตรปริพันธ์พื้นฐาน (Basic integration formulas)

ตัวอย่างที่ 7.1.1 (การเปลี่ยนตัวแปร)

ตัวอย่างที่ 7.1.2 (จัดอยู่ในรูปกำลังสองสัมบูรณ์)

ตัวอย่างที่ 7.1.3 (กระจายเทอมและใช้เอกลักษณ์ตรีโกณฯ)

ตัวอย่างที่ 7.1.4 (กำจัดรากที่สอง)

ตัวอย่างที่ 7.1.5 (ตัดทอนเศษส่วนเกินโดยการหารยาว)

ตัวอย่างที่ 7.1.6 (แยกเทอมเศษส่วน)

ตัวอย่าง 7.1.7 คูณด้วยเศษส่วนที่มีค่า=1

7.2 Integration by parts ใช้หาปริพันธ์ที่สามารถเขียนได้ในเทอมของ โดยที่ f(x) สามารถหาอนุพันธ์ได้เรื่อยๆจนเป็นศูนย์ และ g(x) สามารถหาปริพันธ์ได้เรื่อยๆ โดยมีสูตร

ที่มาของสูตร Integral by parts มาจากอนุพันธ์ของผลคูณ ถ้าหากหาปริพันธ์ทั้งสองข้างสมการเทียบกับ x จะได้ว่า

ในกรณีของการปริพันธ์แบบจำกัดขอบเขต

ตัวอย่างที่ 7.2.1 ลองพิจารณาสลับ u และ dv ?

ตัวอย่างที่ 7.2.3 หาพื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง กับแกน x ในช่วง 0 < x <4

ตัวอย่างที่ 7.2.4 integral of the natural logarithm

ตัวอย่างที่ 7.2.5 integral by parts หลายๆครั้ง

ตัวอย่างที่ 7.2.6 ใช้ integration by parts แล้วได้ของเดิม

ตารางในการหา integration by parts ตัวอย่างที่ 7.2.7 ตัวอย่างที่ 7.2.8

7.3 การแยกเศษส่วนย่อย (Partial Fractions) จากผลรวมของเศษส่วนย่อย ถ้าหากเราต้องการหาค่าปริพันธ์

ตัวอย่างที่ 7.3.1 การแยกเศษส่วนย่อยอย่างง่ายๆ การหาค่าปริพันธ์ โดยที่ไม่ทราบมาก่อนว่าอะไรเป็นเศษส่วนย่อย แยกตัวประกอบส่วน แล้วกำหนดให้ เทียบสัมประสิทธิ์

เงื่อนไขที่จะแยกเศษส่วนย่อยได้ จะต้องเป็นเศษส่วนคละ (Proper Fraction) คือตัวชี้กำลังของเศษต้องน้อยกว่าตัวชี้กำลังของส่วน ตัวส่วนจะต้องแยกตัวประกอบได้

ขั้นตอนในการแยกเศษส่วนย่อย ถ้าหาก เป็นตัวประกอบของส่วน และ เป็นพหุนามกำลังสูงสุดที่หารส่วนลงตัว จะได้เศษส่วยย่อยดังนี้ ถ้าหาก เป็นตัวประกอบของส่วนและ เป็นพหุนามกำลังสูงสุดที่หารส่วนลงตัว จะได้เศษส่วนย่อยดังนี้ รวมเศษส่วนย่อยทุกกรณีเข้าด้วยกัน เทียบสัมประสิทธิ์ หาค่าคงที่ A, B, C

ตัวอย่างที่ 7.3.2 แยกเศษส่วนย่อยของ

ตัวอย่างที่ 7.3.3

ตัวอย่างที่ 7.3.4 เศษเกิน ลดทอนเศษส่วนโดยการหารยาว

ตัวอย่างที่ 7.3.5 จงหาคำตอบของสมการ แยกตัวแปรอินทีเกรต

ตัวอย่างที่ 7.3.5 (ต่อ) คำตอบทั่วไป (General solution) แทนค่า x=0 , y =1 จะได้ ดังนั้นคำตอบเฉพาะคือ

ตัวอย่างที่ 7.3.6

Heaviside Method ถ้าหากแยกแฟกเตอร์ส่วนได้ในรูปของ เราสามารถหาค่าของสัมประสิทธิ์ได้โดยง่าย

ตัวอย่างที่ 7.3.7 จงแยกเศษส่วนย่อย

ตัวอย่างที่ 7.3.8(Heaviside method) จงหาค่าปริพันธ์

ตัวอย่างที่ 7.3.9 ใช้การหาอนุพันธ์ จงแยกเศษส่วนย่อย

ตัวอย่างที่ 7.3.10 แทนค่า x ด้วยรากของส่วนทีละค่า จงแยกเศษส่วนย่อย