ACCOUNTING FOR INVENTORY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
Advertisements

สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
System Requirement Collection (2)
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
แนวทางการบริหารงบประมาณ
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
สัญญาก่อสร้าง.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
อ.พิมพ์ผกา วงศ์กองแก้ว
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การบริหารโครงการ Project Management
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การใช้รายงาน Controlling
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การวางแผนกำลังการผลิต
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
เศษส่วนและทศนิยม.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การกระจายอายุของบุคลากร วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ACCOUNTING FOR INVENTORY Chapter 9 ACCOUNTING FOR INVENTORY

วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายและหลักราคาทุนของสินค้าคงเหลือ อธิบายการตีราคาสินค้าคงเหลือด้วยราคาทุนวิธีต่างๆ อธิบายผลกระทบของการตีราคาสินค้าคงเหลือได้ถูกต้อง

การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย ความจำเป็นในการตรวจนับและตีราคาสินค้า Periodic ใช้ในการคำนวณสินค้าคงเหลือ เพื่อนำไปคำนวณต้นทุนขายต่อ Perpetual ตรวจสอบความถูกต้อง ของการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ สรุปว่า: ไม่ว่ากิจการจะบันทึกบัญชีวิธีใด Perpetual หรือ Periodic กิจการควรมีการตรวจนับและตีราคาสินค้าคงเหลือ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

วิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือ ที่ให้ผลถูกต้อง ชัดเจนที่สุดคือ วิธี…. เฉพาะเจาะจง : Specific Identification Method จะบันทึกต้นทุน และ ตีราคาสินค้า โดยใช้ต้นทุนจริงๆ ของสินค้าตัวที่ขาย A ฿ 3 A ฿ 3.2 3.2 ขาย ต้นทุนขาย = 6.5 A ฿ 3.5 สินค้าคงเหลือ =

Specific Identification เมื่อสินค้าถูกขาย ต้นทุนของสินค้าชิ้นนั้นๆ จะถูกโอนไปเป็นต้นทุนสินค้าที่ขาย

วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ FIFO : First in First Out การซื้อ การขาย A ฿ 3 ฿ 3 ต้นทุนขาย 1 ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด FIFO สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.7 A 2 ฿ 3.2 สินค้าคงเหลือ A 3 ฿ 3.5

วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ LIFO : Last in First Out A 1 ฿ 3 2 ฿ 3.2 3 ฿ 3.5 การซื้อ การขาย ฿ 3.5 ต้นทุนขาย ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด LIFO สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.2 สินค้าคงเหลือ

วิธีการตีราคาสินค้า วิธีอื่นๆ Average : สินค้าที่มีไว้ขายมีเพียงราคาเดียว A 1 ฿ 3 2 ฿ 3.2 3 ฿ 3.5 การซื้อ การขาย ถัวเฉลี่ย ฿ 3.23 3.00 ต้นทุนขาย ในทางปฏิบัติ กิจการสามารถจะหยิบสินค้าชิ้นไหน ขายก่อนก็ได้ แต่ในทางบัญชี จะบันทึกต้นทุนโดยใช้แนวคิด Average สมมติว่า กิจการหยิบสินค้า ชิ้นที่ 2 ไปขาย ฿ 6.46 3.10 สินค้าคงเหลือ 3.23

ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย จำนวน สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย Weighted Average เมื่อสินค้าถูกขายไป ต้นทุนเฉลี่ยของสินค้าจะถูกโอนไปยัง ต้นทุนสินค้าที่ขาย ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย จำนวน สินค้าที่มีไว้เพื่อขาย ÷

ตัวอย่างการตีราคาสินค้าคงเหลือ

คำนวณหาจำนวนหน่วยคงเหลือ จำนวนหน่วยของสินค้าต้นงวด 1,000 บวก จำนวนหน่วยที่ซื้อทั้งหมด 1,300 รวมจำนวนหน่วยของสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 2,300 หัก จำนวนหน่วยที่ขายได้ทั้งหมด 1,900 จำนวนหน่วยของสินค้าคงเหลือปลายงวด 400

การตีราคาสินค้าตามวิธี Periodic Inventory Method

จำนวนสินค้าที่เหลือต้องใช้ราคาของสินค้าที่เหลือ วิธีเฉพาะเจาะจง จำนวนสินค้าที่เหลือต้องใช้ราคาของสินค้าที่เหลือ จากข้อมูลสมมติว่าสินค้าเหลือจำนวน 100 หน่วยมาจากซื้อวันที่ 28 ม.ค.49 ที่เหลือมาจากการซื้อวันที่ 13 มี.ค.49 คำนวณสินค้าคงเหลือปลายงวดโดย วันที่ 28 มค. 49 จำนวน 100 หน่วย ราคาหน่วยละ 6 บาท เป็นเงิน 600 บาท วันที่ 13 มีค. 49 จำนวน 300 หน่วย ราคาหน่วยละ 7 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท รวมสินค้าคงเหลือปลายงวด 400 หน่วย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,700 บาท

ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเฉพาะเจาะจง ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเฉพาะเจาะจง ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 5,000 บวก ซื้อสินค้า 7,600 รวมสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 12,600 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 2,700 ต้นทุนขาย 9,900 กำไรขั้นต้น ขายสุทธิ 28,500 หัก ต้นทุนขาย 9,900 กำไรขั้นต้น 18,600

วิธีเข้าก่อนออกก่อน สินค้าที่ซื้อมาก่อนจะถูกขายไปก่อน แสดงว่าสินค้าที่เหลือคือ สินค้าที่ซื้อมาครั้งหลังสุด คำนวณสินค้าคงเหลือปลายงวดโดย วันที่ 13 มีค. 49 จำนวน 300 หน่วย ราคาหน่วยละ 7 บาท เป็นเงิน 2,100 บาท วันที่ 28 กพ. 49 จำนวน 100 หน่วย ราคาหน่วยละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท รวมสินค้าคงเหลือปลายงวด 400 หน่วย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,600 บาท

ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 5,000 บวก ซื้อสินค้า 7,600 รวมสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 12,600 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 2,600 ต้นทุนขาย 10,000 กำไรขั้นต้น ขายสุทธิ 28,500 หัก ต้นทุนขาย 10,000 กำไรขั้นต้น 18,500

วิธีเข้าหลังออกก่อน สินค้าที่ซื้อมาหลังจะถูกขายไปก่อน แสดงว่าสินค้าที่เหลือคือ สินค้าที่ซื้อมาครั้งแรกสุด คำนวณสินค้าคงเหลือปลายงวดโดย วันที่ 1 มค. 49 จำนวน 400 หน่วย ราคาหน่วยละ 5 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท รวมสินค้าคงเหลือปลายงวด 400 หน่วย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,000 บาท

ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเข้าหลังออกก่อน ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีเข้าหลังออกก่อน ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 5,000 บวก ซื้อสินค้า 7,600 รวมสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 12,600 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 2,000 ต้นทุนขาย 10,600 กำไรขั้นต้น ขายสุทธิ 28,500 หัก ต้นทุนขาย 10,600 กำไรขั้นต้น 17,900

วิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่าย สินค้าคงเหลือได้จากการเฉลี่ยราคาที่ซื้อทุกครั้ง คำนวณสินค้าคงเหลือปลายงวดโดย หาราคาเฉลี่ยต่อหน่วยของสินค้า คำนวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวด ราคาสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย เท่ากับ ผลรวมของราคาต่อหน่วยของสินค้าที่ซื้อทั้งหมด จำนวนครั้งที่รวม ราคาสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย เท่ากับ 5 + 6 + 5 + 7 = 5.75 บาทต่อหน่วย 4 สินค้าคงเหลือปลายงวดมีจำนวน 400 หน่วย ราคาเฉลี่ยหน่วยละ 5.75 บาทเป็นเงิน 2,300 บาท

ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่าย ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีถัวเฉลี่ยอย่างง่าย ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 5,000 บวก ซื้อสินค้า 7,600 รวมสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 12,600 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 2,300 ต้นทุนขาย 10,300 กำไรขั้นต้น ขายสุทธิ 28,500 หัก ต้นทุนขาย 10,300 กำไรขั้นต้น 18,200

วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก สินค้าคงเหลือได้จากการเฉลี่ยราคาสินค้าที่ซื้อถ่วงน้ำหนักกับจำนวนที่ซื้อ คำนวณสินค้าคงเหลือปลายงวดโดย หาราคาเฉลี่ยต่อหน่วยของสินค้า คำนวณหาสินค้าคงเหลือปลายงวด ราคาสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย เท่ากับ จำนวนเงินรวมของสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย จำนวนหน่วยรวมของสินค้ามีไว้เพื่อขาย ราคาสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย เท่ากับ 12,600 = 5.48 บาทต่อหน่วย 2,300 สินค้าคงเหลือปลายงวดมีจำนวน 400 หน่วย ราคาเฉลี่ยหน่วยละ 5.48 บาทเป็นเงิน 2,192 บาท

ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนขาย และกำไรขั้นต้น - ตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 5,000 บวก ซื้อสินค้า 7,600 รวมสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 12,600 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 2,192 ต้นทุนขาย 10,408 กำไรขั้นต้น ขายสุทธิ 28,500 หัก ต้นทุนขาย 10,408 กำไรขั้นต้น 18,092

การตีราคาสินค้าตามวิธี Perpetual Inventory Method

วิธีเข้าก่อนออกก่อน

วิธีเข้าก่อนออกก่อน (ต่อ) 1. สินค้าคงเหลือปลายงวด = 2,600 บาท 2. ต้นทุนขาย = 3,500 + 5,000 + 1,500 = 10,000 บาท ขาย 28,500 บาท ต้นทุนขาย 10,000 บาท กำไรขั้นต้น 18,500 บาท

วิธีเข้าหลังออกก่อน

วิธีเข้าหลังออกก่อน (ต่อ) 1. สินค้าคงเหลือปลายงวด = 2,000 บาท 2. ต้นทุนขาย = 4,000 + 5,100 + 1,500 = 10,600 บาท ขาย 28,500 บาท ต้นทุนขาย 10,600 บาท กำไรขั้นต้น 17,900 บาท

วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ 1. สินค้าคงเหลือปลายงวด = 2,221 บาท 2. ต้นทุนขาย = 3,731 + 4,986 + 1,662 = 10,379 บาท ขาย 28,500 บาท ต้นทุนขาย 10,379 บาท กำไรขั้นต้น 18,121 บาท

สรุปการตีราคาด้วยวิธีราคาทุนทั้ง 2 ระบบ

ข้อดีของการตีราคาสินค้าคงเหลือแต่ละวิธี Weighted Average First-In, First-Out Last-In, First-Out ทำให้ราคาของ สินค้ามีความสม่ำเสมอ มูลค่าของสินค้าคงเหลือใกล้เคียงกับราคาเปลี่ยนแทนปัจจุบัน ต้นทุนของสินค้าที่ขายสัมพันธ์กับยอดรายได้

สัดส่วนการเลือกใช้วิธีราคาทุนในการตีราคาสินค้าคงเหลือ LIFO 36% FIFO 42% Others 4% AVG 19% From : Financial Accounting by KIMMELWEYGANDT and KIESO

การแสดงสินค้าในงบดุล สินค้าคงเหลือ จะแสดงในงบดุลด้วยมูลค่า “ราคาทุนหรือมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับสุทธิที่ต่ำกว่า” (lower of cost or net realizable value) มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับสุทธิ หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ หัก ด้วยค่าใช้จ่ายในการที่จะทำให้สินค้านั้นๆ ไร้คุณภาพ เมื่อกิจการทราบมูลค่าราคาทุนของสินค้าคงเหลือแล้ว กิจการจะนำมาเปรียบเทียบกับราคาที่คาดว่าจะได้รับ ตัวใดต่ำกว่า เลือกใช้ตัวนั้น ให้แสดงอยู่ในงบดุล

มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ ราคาทุน มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนทั้งหมดในการซื้อ บวกด้วยค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น ๆ ราคาของสินค้าที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ หักด้วยต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้สินค้านั้นๆ ขายได้ VS

การเปรียบเทียบราคาทุน กับ มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ รายการสินค้า ราคาทุน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับ ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ 600 ชุดโต๊ะทานอาหาร 600 850 520 490 680 790 650 300 790 ชุดเก้าอี้รับแขก ชุดตู้หนังสือ 520 ชุดเก้าอี้ในสวน 300 2,460 2,420 2,210

สินค้าคงเหลือสิ้นงวด คำวิจารณ์ วิธีราคาทุน ต้นทุนสินค้าที่ขาย สินค้าคงเหลือสิ้นงวด คำวิจารณ์ ตรงกับความเป็นจริง สินค้าที่มีลักษณะพิเศษ สินค้าแตกต่างกัน Specific ต้นทุนจริงของสินค้าที่ขาย ต้นทุนจริงของสินค้าที่เหลืออยู่ ต้นทุนซื้อ/จำนวนหน่วย จำนวนคงเหลือ X ต้นทุนต่อหน่วย ราคาต่อหน่วยเท่ากัน ถัวเฉลี่ยต้นทุน Average ต้นทุนขายเกิดจากสินค้ารุ่นเก่า สินค้าที่เหลือเป็นรุ่นใหม่ๆ ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาครั้งแรกๆ ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาครั้งหลังๆ FIFO LIFO ตรงข้ามกับ FIFO

A n y Q u e s t I o n s ?