เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Advertisements

Chapter 1 Introduction to Information Technology
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Software.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เอกสารประกอบการบรรยาย (2)
ทุกท่าน ด้วยความยินดียิ่ง ศูนย์คอมพิวเตอร์สารสนเทศ วิทยาลัยการปกครอง
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Software ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์ ลิขสิทธิ์ โดย ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย เฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น อ. ว่าที่ ร. ต. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
Saving Cost Connection
หน่วยที่ 1 ซอฟต์แวร์.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
Security in Computer Systems and Networks
ระบบคอมพิวเตอร์.
1-2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
วิชา SG003 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
13 October 2007
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
Information and Communication Technology Lab3 New
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
Operating System.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
Information and Communication Technology Lab2
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
การใช้โปรแกรมเบื้องต้น (Application Overview)
Operating System Overview
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 2 ซอฟต์แวร์ รายวิชา ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อ.อภิพงศ์ ปิงยศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 9 ระบบปฏิบัติการ Windows
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เทคนิคการเขียน Resume
TOT e-Conference Bridge to Talk : Simple & Clear.
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
Introduction to Structured System Analysis and Design
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ระบบปฏิบัติการ ( OS – Operating System )
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
Introduction to GNU/Linux
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และ ระบบปฏับัติการเบื้องต้น 01/12/61

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ 1.ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป 2.ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะงาน ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1. ระบบปฏิบัติการ 2. ตัวแปลภาษา แผนผัง แสดงการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบัติการ (Operating system หรือ OS) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คือ โปรแกรมที่เป็นส่วนเชื่อมโยงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้

หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรมและอุปกรณ์ต่างๆ 2. จัดสรรการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกัน 3. เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ 4. จัดการข้อมูลและสารสนเทศภายในหน่วยความจำ 5. จัดการในด้านรักษาความปลอดภัย

ประเภทของระบบปฏิบัติการ 1. Dos 2. Windows 3. Mac OS 4. Unix 5. Linux

1. ระบบปฏิบัติการ DOS

1. ระบบปฏิบัติการ DOS (ต่อ) เป็นระบบปฏิบัติการในการจัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้วการใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร DOS มีลักษณะการทำงานแบบ Single tasking คือ ทำงานได้ทีละงานเท่านั้น

2. ระบบปฏิบัติการ Windows

2. ระบบปฏิบัติการ Windows (ต่อ) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอย่างเดียว การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน Wondows มีลักษณะการทำงานแบบ Multi tasking คือ สามารถงานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน

Windows 1.01 (1985)

Windows 3.0 (1990) Windows 3.1 (1992)

Windows 95 (1995) Windows 98 (1998)

Windows ME (2000) Windows XP (2001)

Windows Vista (2006) Windows 7 (2009)

Windows 8 (2012)

3. ระบบปฏิบัติการ Mac OS เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องแมคอินทอช (Macintosh) นิยมใช้กับงานด้าน Graphic

Mac OS

4. ระบบปฏิบัติการ Unix

4. ระบบปฏิบัติการ Unix (ต่อ) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่ มีผู้ใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multi users) และ สามารถทำงานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า ระบบหลาย ภารกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยง เป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน

5. ระบบปฏิบัติการ Linux

Linux เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกะนู ( Gun’s Not Unix : GNU) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (freeware) ผู้ใช้สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย  ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) เอเอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น

Linux

มีคนใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ? ระบบปฏิบัติการใด มีคนใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ?

ที่มา : www.truehits.net

ระบบปฏิบัติการของคนไทย ?

ลีนุกซ์ทะเล

ลีนุกซ์ซีส

2. โปรแกรมภาษา (Language Software) ซอฟต์แวร์ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือในการสร้างชุดคำสั่งหรือโปรแกรมเพื่อนำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้สามารถสร้างโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว แบ่งออกเป็น 1. ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) 2. ภาษาระดับสูง (High Level Language)

การรู้จักข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จัก “A” พิมพ์ “A” “A” = 01000001

2. โปรแกรมภาษา (Language Software) (ต่อ) ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) คือภาษาที่มีการใช้ในการ ควบคุมหรือใกล้ชิดกับฮาร์ดแวร์ เป็นภาษาที่มีคำสั่งสั้นๆ แต่ทำงานได้อย่าง รวดเร็วแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) อยู่ใน รูปแบบรหัสเลขฐานสอง เช่นภาษาแอสเซมบลี ซึ่งจะมีซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ แปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องคือ แอสเซมเบลอร์

ภาษาเครื่อง 10010010 11100010 10001000 11110000

2. โปรแกรมภาษา (Language Software) (ต่อ) 2. ภาษาระดับสูง (High Level Language) หมายถึงภาษาคอมพิวเตอร์ที่ สร้างมาเพื่ออำนวนความสะดวกให้แก่ผู้เขียนโปรแกรม โปรแกรมที่ใช้เขียนจะเรียกแทนว่า source code แต่ยังไม่สามารถนำไปใช้ สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ต้องผ่านกระบวนการแปลให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ หรือเรียกว่า Object code ตัวแปลภาษาระดับสูงมี 2 ประเภทคือ Compiler และ Interpreter

คอมไพเลอร์ (Compiler) แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรูปภาษาระดับสูงไปเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แปลงโปรแกรมต้นฉบับทั้งหมดเพียงครั้งเดียว เหมาะกับโปรแกรมขนาดใหญ่

อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) แปลงโปรแกรมภาษาที่อยู่ในรูปภาษาระดับสูงไปเป็นคำสั่งภาษาเครื่อง แปลงโปรแกรมต้นฉบับทีละคำสั่ง เหมาะกับโปรแกรมขนาดเล็ก

คอมไพเลอร์,อินเตอร์พรีเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาระดับสูง ตัวแปลภาษา ภาษาเครื่อง คอมไพเลอร์,อินเตอร์พรีเตอร์

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ การใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์สำเร็จที่มีผู้พัฒนา เพื่อใช้งานทั่วไปทำให้ทำงานได้สะดวกขึ้น หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซึ่งผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาขึ้นเอง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการทำงานของตน

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป เป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนำออกมาจำหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก

ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่มีจำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป และเป็นที่นิยมของผู้ใช้ ได้แก่ 1. ซอฟต์แวร์ประมวลคำ (word processing software) 2. ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน (spreadsheet software) 3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (database management software) 4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ (presentation software) 5. ซอฟต์แวร์สื่อสารและค้นหาข้อมูล ( data communication and discovery software) 6. ซอฟต์แวร์กราฟิก (graphic software)

1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ - ใช้สำหรับการพิมพ์เอกสารสามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบ เอกสารได้อย่างดี สามารถช่วย ตรวจสอบตัวสะกดในเอกสารที่พิมพ์ว่าถูกต้องหรือไม่ มีโปรแกรมใด เป็นโปรแกรมสำหรับ ประมวลผลคำบ้าง ??

Notepad

2) ซอฟต์แวร์สำหรับคำนวณ 1. ใช้สำหรับสร้างตารางการคำนวณ และสร้างกราฟแผนภูมิสำหรับนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟแท่ง กราฟเส้น แผนภูมิวงกลมและอื่นๆ 2. ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทำงานที่มีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครื่องคำนวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถสั่งให้คำนวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่กำหนด หากผู้ใช้ต้องการสร้างคำสั่งหรือสูตรเองก็สามารถดำเนินการได้ 3. การใช้งานโดยทั่วไปสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันที่มีอยู่หลายหมวดหมู่ เช่น ฟังก์ชันทางสถิติ ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

Microsoft-Excel

3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การรวบรวมข้อมูลหลายๆ เรื่องที่เกี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์เรียกว่า “ฐานข้อมูล” ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การประมวลผลข้อมูลพื้นฐาน การสร้างรายงานผล หรือสรุปผลของข้อมูลที่ผ่านการประมวลแล้ว ประโยชน์ของซอฟแวร์จัดการฐานข้อมูล คือ 1. การเรียกค้นมาใช้งาน และจัดการกับข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์ การทำรายงาน การสรุปผลจากข้อมูล 2. ช่วยให้ผู้ใช้งานทั้งหลายได้รับ ความสะดวกและใช้ข้อมูลร่วมกันได้

4) ซอฟต์แวร์นำเสนองาน 1. ใช้สำหรับนำเสนอข้อมูล สร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ทำให้การนำเสนอมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น สามารถแสดงข้อความในลักษณะที่ สื่อความได้ง่าย 2. สามารถสร้างสไลด์โดยประกอบด้วย ตัวอักษร รูปภาพ กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพเคลื่อนไหว เสียงและอื่นๆ

4) กราฟฟิกซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์กราฟิกเป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สร้าง ออกแบบ วาดหรือ จัดแต่งเอกสาร หรือรูปภาพซึ่งซอฟต์แวร์นี้ สามารถสร้างงานได้รวดเร็วมีคุณภาพ และมีปริมาณมากง่ายต่อการนำไปใช้

โปรแกรมกราฟิก

โปรแกรมเว็บดีไซน์

โปรแกรมเว็บบราวเซอร์

โปรแกรมฟังเพลง

โปรแกรม Chat

โปรแกรมรับ-ส่ง Mail ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) เป็นโปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงเอกสารระหว่างกันโดยสามารถส่งจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว ทั้งที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือต่างกัน ตัวอย่างโปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่พัฒนาจากทั้งองค์กร และบริษัทเพิ่มเติม มีทั้งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นการค้า และแจกฟรี เช่น เนสเคป และเอาท์ลุก เป็นต้น

โปรแกรมรับ-ส่ง Mail (ต่อ)

Virus Computer คืออะไร ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสำเนาตัวเองเข้าไปติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไประบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ

โปรแกรม Anti Virus

ที่มา http://anti-virus-software-review.toptenreviews.com/

บุคลากร (Peopleware) บุคลากร หมายถึง ผู้ที่จะมาปฏิบัติงาน หรือ ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือผู้วางนโยบายการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมและ ระบบงานใหม่แล้วทำการวิเคราะห์ตามความเหมาะสม 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ผู้เขียนโปรแกรมคำสั่งงาน 4. ผู้ใช้ (User) ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป 01/12/61

ลำดับความสัมพันธ์กับส่วนประกอบต่างๆ มนุษย์ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware) 01/12/61