การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชจากสารเสพติด หน่วยคุณภาพสารเสพติด ชาย 5/1
ความหมาย สารที่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ โดยการกิน สูดดม ฉีด ส่งผลต่อร่างกาย จิตใจ สังคม ผู้ใช้สารนั้นต้องเพิ่มขนาดเรื่อยๆ เมื่อหยุดใช้เกิดอาการขาดสารเสพติด ใช้นานเกิดความต้องการทั้งร่างกาย+จิตใจ เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
เรียบเรียงโดย น.พ. จรูญ จิตติวุฒิการ ประเภทกดประสาท สารเสพติด ๐ ฝิ่น, เฮโรอิน ๐ เหล้า, เหล้าแห้ง ๐ ยากล่อมประสาท ๐ ยานอนหลับ ๐ ยา K (Ketamine) ประเภทกระตุ้นประสาท ๐ ยาบ้า Ice ยาอี ยาเลิฟ ๐ ยาลดความอ้วน ๐ โคนเคน ๐ กระท่อม (Khat) ประเภทหลอนประสาท ๐ คาเฟอีน , ชูกำลัง ๐ LSD, Magic paper ๐ ลำโพง, กัญชา ๐ เห็ดขี้ควาย ประเภทสารระเหย ๐ กาว ๐ เบนซิน ๐ ทินเนอร์ ๐ Toluene เรียบเรียงโดย น.พ. จรูญ จิตติวุฒิการ
การวินิจฉัย DSM IV 3 symptoms in 12 MO. Tolerance, withdrawal, taken in larger amounts, persistent desire, a great deal of time is spent in Using, neglect of activity, continue used despite problems. ICD 10 code F1a.bc
คำถามที่น่าสนใจ ทำไมผู้ป่วยเสพยาเพิ่มขึ้น ทำไมผู้ป่วยจึงทำร้ายตัวเอง ทำไมลองมาหลายตัวไม่ติด ทำไมถึงมีอาการคล้ายผู้ป่วยโรคจิต
กลไกการเกิดโรค Biological models Psychological Models Social Models
Biological models
Genetic Factor ศึกษาในคู่แฝดแท้และคู่แฝดเทียมเพศชาย จำนวน 3,516 คู่ พบว่าการติดสุราเป็นผลมาจากพันธุกรรม ร้อยละ 48 – 58 (Dick, M. D., Wang, C. J., Plunkett, J., Aliev, F., Hinrichs, A., & Bertelsen, S., et al., 2007) ( Prescott, และKendler 1999)
Biological Factor
Drugs Associated with Neurotransmitters DA - MET, Coke, ETOH SER - LSD, E, ETOH END - Opioids, ETOH GABA - benzos, ETOH GLU - ETOH ACH - nicotine, ETOH http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1987156/?page=4
วัตถุประสงค์การให้ยา เพื่อรักษาอาการทางจิตเวช เพื่อลดอาการขาดสุรา เพื่อลดการอยากเสพสารเสพติด Reinforcing effects ของ Alcohol ได้แก่ endogenous opioid, serotonin, glutamate เพื่อให้เกิดผลไม่พึงประสงค์เมื่อดื่มสุรา Disulfiram จะเข้ายับยั้งเอนไซม์ alcehyde dehydrogenase (ALDH)
Psychological Models
Classical Conditioning ตัวกระตุ้นภายนอก อยากยา เสพยา ตัวกระตุ้นภายใน
Cognitive behavior theory
ความคิด อารมณ์ พฤติกรรม
Motivation
การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ตามรูปแบบของการให้คำปรึกษาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อช่วยให้ผู้ติดสารเสพติดได้สำรวจ ค้นหา และแก้ไขความลังเลใจในพฤติกรรม
Social Models แนวคิดทฤษฎีการหน้าที่ เพื่อหลีกหนีความยุ่งยากทางสังคม การไม่พอใจต่อสภาพแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างรวดเร็ว กลุ่มทฤษฎีความขัดแย้ง เพื่อหลีกหนีความขัดแย้งทางสังคม ทฤษฎีต่างความสัมพันธ์ เกิดจากการนิยามผิดถูกที่ต่างจากกลุ่มอื่นในสังคม (Mead,Sutherland) ทฤษฎีความเบี่ยงเบน เกิดจากความไม่สอดคล้องทางสังคมทำให้บุคคลหลบหนีจากความไม่สอดคล้องนั้น ๆ (Robert K. Merton) เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ, 2544
Family Hierarchy Boundary Relationship