ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
Advertisements

รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 20 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนงานครอบครัวอบอุ่น
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
กฎหมายการศึกษาไทย.
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
สรุปรายงานการติดตามผลโครงการสะเต็มอบรมครูผ่าน ETV และ DLTV (ระยะที่ 1)
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook for Teacher)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ณ วันนี้เป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือยัง
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
จิตวิญญาณความเป็นครู
PLC.
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community : PLC ลำดวน ไกรคุณาศัย

PLC ในความเข้าใจของท่าน ?

 นิยาม Stoll and Louis(2007) กลุ่มของครูที่มาร่วมกันทำงานและวางเป้าหมายร่วมกันเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมทั้งมีการสะท้อนการทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งเน้นและส่งเสริมพัฒนาการ และการเจริญเติบโตทางวิชาชีพ

 นิยาม (วิจารณ์ พานิช,2555) การมีคุณค่าร่วมและวิสัยทัศน์ร่วมกัน รวมไปถึงการเรียนรู้ร่วมกัน และนำไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน การรวมตัวแบบนี้เหมือนแรงผลักดันที่อาศัยความต้องการและความสนใจของสมาชิกใน PLC เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพสู่มาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหลัก

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อครู ลดความรู้สึกโดดเดี่ยว เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายต่องาน กระตือรือร้น มีพลังที่จะพัฒนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการค้นพบความรู้ วิธีทำงาน วิธีสอนใหม่ๆ ต่อยอดวิธีการของตนเองจากประสบการณ์ของเพื่อน

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อผู้เรียน ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง คุณภาพผู้เรียนดีขึ้น ทั้งด้านความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ

ประโยชน์ของการเสริมสร้าง PLC ผลดีต่อโรงเรียน งานบรรลุตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ เกิดการเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เกิดพลังรัก สามัคคีและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง ครูและผู้บริหาร ได้พัฒนาวิชาชีพ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น

 ขั้นตอนการสร้าง PLC ในสถานศึกษา ๑. วิเคราะห์ภารกิจนโยบาย จุดเด่นจุดด้อย ๒. เลือกงาน/ภารกิจ ที่ต้องพัฒนาร่วมกัน ๓. วางแผนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - รายชั้นเรียน - สาระ - โรงเรียน ๔. ทุกคนพัฒนางาน / ภารกิจในชั้น /วิชาที่ รับผิดชอบ

 ขั้นตอนการสร้าง PLC ในสถานศึกษา (ต่อ) ๕. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การสอน (รายสัปดาห์-รายเดือน-รายภาคเรียน-ปี) ๖. เก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการแลกเปลี่ยน มาพัฒนาตนเอง ๗. แลกเปลี่ยนและประเมินผลรวมสรุปเป็น องค์ความรู้วิธีปฏิบัติที่ดีของเรื่องนั้นๆ ๘. เผยแพร่องค์ความรู้ /Network Development

 ตัวอย่างงาน/ภารกิจ - การจัดการเรียนรู้ Active Learning - สะเต็มศึกษา (STEM Education) ไทยแลนด์ 4.0 การพัฒนาโรงเรียนประชารัฐ การสอนคณิตศาสตร์ การสอนอ่านจับใจความ ฯลฯ

ท่านเคยเห็นกิจกรรม ที่ใช้ PLC ใน สพป.สพ.2 ในเรื่องใดบ้าง อย่างไร

บทบาทของผู้บริหารโรงเรียน กับ PLC ในสถานศึกษา - ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสะท้อนคิด เป็นพี่เลี้ยงหรือโค้ชครูในการพัฒนางาน (นิเทศภายใน) ประสานผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อต่อยอด องค์ความรู้ ให้แรงเสริมอย่างสม่ำเสมอ เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะทุกโอกาส ฯลฯ

 บทบาทของเขตพื้นที่ กับ PLC ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายครู/บุคลากรตามงานหรือภารกิจ ผลักดันให้เกิดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามกลุ่ม /โรงเรียน ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/เติมเต็ม/ต่อยอด/เผยแพร่ความรู้จากการแลกเปลี่ยน

 บทบาทของเขตพื้นที่ กับ PLC (ต่อ) ประสานผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ จัดหาช่องทางในการเผยแพร่องค์ความรู้จากการปฏิบัติ สร้างเสริมขวัญกำลังใจในการทำ PLC ฯลฯ

 วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การบริหารจัดการ ภาระงาน : จัดชั่วโมงรวมอยู่ในภาระงานสอนของครู/ภาระงาน การจัดกลุ่ม – กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันในระดับชั้นเดียวกัน – กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันในช่วงชั้นเดียวกัน – บุคลากรแบ่งกลุ่มตามลักษณะงาน จำนวนสมาชิก : 6-8 คน (ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ หมุนเวียนเข้าร่วมทุกกลุ่ม ระยะเวลา : 2-3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศึกษา

บทบาทสมาชิกในกลุ่ม  วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) ผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) – รักษาระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิก – ควบคุมประเด็นการพูดคุย ผู้ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้หาข้อมูลเพิ่มเติม ผู้บันทึก logbook ทุกคน

ปัญหา วิธีดำเนินการ ผลลัพธ์ ตัวอย่าง logbook 1 ปัญหา วิธีดำเนินการ ผลลัพธ์

ใครลงมือ ทำอะไร ทำอย่างไรเมื่อไร ผลที่เกิด ตัวอย่าง logbook 2 ใครลงมือ ทำอะไร ทำอย่างไรเมื่อไร ผลที่เกิด

 วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) วิธีดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสนอประเด็นปัญหาที่พบจากการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือปัญหาจากการทำงาน ร่วมกันคัดเลือกประเด็นปัญหา ระดมสมองนำเสนอวิธีแก้ปัญหาจากประสบการณ์ หาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม – จาก ศน./ผู้เชี่ยวชาญ – จากงานวิจัยในชั้นเรียน – จากแหล่งข้อมูลต่างๆ – จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) วิธีดำเนินงาน (ต่อ) อภิปรายสรุปและเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม นำไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน/ในการทำงาน สมาชิกร่วมกันสังเกตการสอนและเก็บข้อมูลหรือเก็บข้อมูลจากการทดลองใช้ในการทำงาน อภิปรายผลจากการสังเกตการสอนและปรับปรุงแก้ไข สรุปผลวิธีการแก้ปัญหาที่ให้ผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน/การทำงาน บันทึกทุกขั้นตอนการทำงานกลุ่ม : ระบุปัญหา วิธีแก้ การทดลองใช้ ผลที่ได้ แบ่งปันประสบการณ์

 วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (ต่อ) วิธีดำเนินงาน เสนอประเด็นปัญหาที่พบจากการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือปัญหาจากการทำงาน ร่วมกันคัดเลือกประเด็นปัญหา ระดมสมองนำเสนอวิธีแก้ปัญหาจากประสบการณ์ หาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม – จาก ศน./ผู้เชี่ยวชาญ – จากงานวิจัยในชั้นเรียน – จากแหล่งข้อมูลต่างๆ – จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

๙. ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ปัจจัยความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : 9 แนว พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ภูมิสังคม ระเบิดจากข้างใน ๓. การมีส่วนร่วม ๔. ประโยชน์ส่วนรวม ๕. องค์รวม ๖. ทำตามลำดับขั้น ๗. ไม่ติดตำรา ๘. พึ่งตนเอง ๙. ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

นานาทัศนะ “PLC เป็นกระบวนการพัฒนาครูที่ทำได้ทันที ไม่ต้องรอใครสั่งการ ลงทุนน้อย ไม่ต้องทิ้งเด็กๆ ตาดำๆ ไปอบรม ทีละหลายๆ วัน เพราะ PLC ใช้ห้องเรียนเป็นหน้างาน ทำแล้วพัฒนาและแก้ปัญหาเด็กได้ตรงประเด็น ใช้ปัญหาของเด็กเป็นตัวตั้งในการทำงานของครู PLC เป็นการรวมตัวกันของครู ร่วมกันทำแผนการสอน ร่วมกันสังเกตการสอน และร่วมกันวิพากษ์ ทำซ้ำจนเกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ เมื่อมีนวัตกรรมเกิดขึ้นจึงเชื่อได้ว่า เด็กๆ ได้รับการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนก็ดำเนินการต่อเนื่องจนเกิดเป็นวัฒนธรรมขององค์กร” นายชัยวัฒน์ แก้วบัวทอง หัวหน้าคณะทำงานพัฒนาครูจังหวัดสุราษฎร์ธานี

นานาทัศนะ “เมื่อผู้บริหารการศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจเรื่อง PLC นี้อย่างชัดเจน PLC ก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครู และบุคลากรทุกฝ่ายอย่างยั่งยืน แต่ต้องเข้าใจว่า PLC ไม่ใช่หัวข้อการอบรม แต่เป็น กระบวนการ ครูสามารถนำกระบวนการ PLC นี้มาใช้เพื่อศึกษาเรื่องที่ตนเองสนใจ หรือเพื่อศึกษาหาทางแก้ปัญหา การจัดการเรียนการสอนที่ตนพบ หรือเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของตน ได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน คือ ใช้กระบวนการ PLC แต่ปรับเปลี่ยนหัวข้อ หรือปัญหาที่ต้องการศึกษาได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน แต่ละพื้นที่” รศ.นราพร จันทร์โอชา

PLC คือ กระบวนการที่สร้าง วัฒนธรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วม และเอื้ออาทรต่อกัน

สวัสดี