หลักสูตรการพัฒนาเว็บไซต์ส่วนงานด้วย CMS ส่วนกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Joomla Open source (JOS) Content Management System (CMS)
Advertisements

Make more customer by yourself
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
Word Press 3.X การอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานโปรแกรมเว็บสำเร็จรูป
Zotero โปรแกรมจัดการบรรณานุกรมOpen source
ตำรวจภูธรภาค 7 กับการนำ Mambo มาใช้พัฒนาเว็บไซต์ของสถานีตำรวจในสังกัด
Joomla Virtual Mart ดาวโหลดไฟล์ : \\geradt
การอบรมพัฒนาระบบ Learning Managment System ด้วยโปรแกรม Moodle คณะแพทยศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 4-5 มี.ค.2551.
Content Management System with Joomla
Thai Webmaster Association1 Asst.Prof.Taskeow srisod.
CSAG (Computer system admin group). CMS (Content Management System)
Ditsayakul Saeung.ITOFebruary 15, 2008 How to write a blog post การเขียน blog 1. เขียนผ่านหน้า website ของ blog 2. เขียนจากโปรแกรทมี่ติดตั้งบนเครื่องคือ.
๑ - ๒ พ. ค. ๕๗ น. ต. ณฤทธิ์ บุญทาเลิศ นายทหารปฏิบัติการ แผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ. ยศ. ทร.
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
การจัดการตลาดพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ E-commerce Marketing Management สิทธิเดช ลีมัคเดช
Content Management System
LOGO Open Source Software ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข Your Company Slogan.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
การออกแบบส่วนต่อประสาน
สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
หน้าที่ของสื่อใหม่. ให้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อ เผ้าระวัง สภาพแวดล้อม เช่น เสนอข้อมูล เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้ผู้รับสาร พัฒนาตามความก้าวหน้า ระวังภัย เกิดจากเทคโนโลยี
EndNote Web งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา
(Phranakhon Rajabhat University). คู่มือการใช้งานโปรแกรม WORDPRESS.
การลงใบความเสี่ยง (IR) ใน Hosxp โดยทีมความเสี่ยง โรงพยาบาลควนเนียง.
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
ระบบคอมพิวเตอร์.
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
Lab 05 : การสร้างเว็บไซต์ด้วย Weebly สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
Create Landing Page by WordPress
Agenda Training Admin User
Mobile Application Development
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
จัดทำโดย นายณัฐศุภญกร ตานาคา ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุพัตรา แจ่มมั่งคั่ง ปวส.2/5 การตลาด นางสาวสุวนันท์ ธรรมจิตร ปวส.2/5 การตลาด
เทคนิคการนำ Open Source Code มาใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์อย่างปลอดภัย
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS) Worapoj promjuk.
Avast Free Antivirus กับ Avira AntiVirus
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ProQuest Dissertations & Theses
สื่อดิจิทัล (Digital Media)
ห้องประชุมออนไลน์ Online Conference
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
การป้องกันรักษาความปลอดภัยจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เบื้องต้น
ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร
กิจกรรม #1 สร้างเว็บไซต์ขายของออนไลน์ หรือ เว็บไซต์อื่น ๆ ก็ได้
ADOBE Dreamweaver CS3.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
การสร้างเว็บไซต์อย่างง่าย ด้วย
วิธีการเพิ่มกล่อง like แฟนเพจเฟซบุ๊ค ลงในเว็บ Wordpress ของเรา
Multimedia Production
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Flash
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การดำเนินงานเว็บไซต์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
ธุรกิจออนไลน์ สิทธิเดช ลีมัคเดช Tel:
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
Installer Project Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
TOT e-Conference Bridge to Talk : Simple & Clear.
เพิ่มเรื่อง (post) ลงเวิร์ดเพรส
การบริหารจัดการเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรการพัฒนาเว็บไซต์ส่วนงานด้วย CMS ส่วนกลาง โดยวิทยากร นางสาวสุพัตรา ทองสุข CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

โดยวิทยากร นางสาวสุพัตรา ทองสุข โดยวิทยากร นางสาวสุพัตรา ทองสุข CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

CMS คืออะไร? เว็บไซต์สำเร็จรูป (Content Management System : CMS ) หรือมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า "ระบบจัดการเนื้อหา" เป็นเว็บไซต์ที่มีระบบจัดการเนื้อหาที่อยู่บนเว็บไซต์ ทั้งหมดผ่านระบบ "Admin" ที่ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Webmaster) สร้างขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกในการ ปรับแต่งข้อความ เนื้อหา Banner หรือส่วนอื่น ๆ ตามต้องการ โดยไม่จำเป็นที่จะต้องเปิดไฟล์เว็บไซต์ ขึ้นมาเพื่อแก้ไขข้อความและทำการอัพโหลดไฟล์ขึ้นไป บน Server ใหม่อีกครั้ง CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

CMS ลักษณะพิเศษ ของ CMS เว็บไซต์สำเร็จรูปจึงมีลักษณะพิเศษอยู่ 2 อย่างคือ: 1. มีระบบผู้ดูแลอยู่หลังบ้าน (ระบบ Admin) เพื่อเอาไว้ จัดการส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ 2. ไม่ต้องแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ บนเว็บไซต์ด้วยการแก้ไข ไฟล์เว็บไซต์ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ประเภทของ CMS 1. Personal CMS เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาใช้งาน เอง หรือเพื่อให้ผู้อื่นมาร่วมใช้ อาจจะใช้งานกับเว็บไซต์ของ ตัวเอง หรืออาจจะใช้งานสำหรับบริษัท หรือองค์กรต่างๆ โดยพัฒนาด้วยคนๆเดียว หรือเป็นทีม อาจมีการสร้างเป็น Framework ขึ้นมาเพื่อสะดวกแก่การพัฒนาเพิ่มเติมในอนาคต ซึ่ง CMS ประเภทนี้มักจะมีความต้องการในการใช้งาน เฉพาะทาง จึงต้องการการพัฒนาที่แตกต่างจาก CMS โดยทั่วๆไปนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น อาจจะเป็น CMS ระบบ Delivery สินค้า ซึ่งแน่นอน ถ้าเป็นเว็บไซต์ทั่วๆไปคงไม่ ต้องการ Feature นี้ เป็นต้น 2. Public CMS เป็น CMS ที่ถูกพัฒนาเพื่อให้ผู้ใช้งาน สามารถเอาไปติดตั้งเองได้ มีทั้งแบบ ฟรี CMS และแบบ เสียตัง ถ้าอยากอัพเกรดเป็น Premium ข้อดีคือใช้งานง่าย แต่อาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมบ้างหากใช้งานครั้งแรก CMS บาง ตัวมีการพัฒนาตลอดเวลา ทันสมัย มีระบบใหม่ๆที่ช่วยให้ ใช้งานได้ง่ายขึ้น แต่ข้อเสียคือบางครั้งด้วย Features ที่ดู ธรรมดาเกินไป อาจจะหา CMS ที่มี features พิเศษ ตรง กับความต้องการของเราจริงๆยากไปบ้างนั่นเอง CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ซอฟแวร์ CMS มีอะไรบ้าง ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

CMS ยอดนิยม CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

WordPress ประเภท Blog เรียกว่าเป็น CMS อันดับ 1 ไปแล้ว แรกเริ่มเดิม ที wordpress ถูกออกแบบมาให้เป็นเว็บบล็อค(ปัจจุบันก็ยังเป็น) แต่ผู้ใช้งานเอาไปประยุกต์ใช้งานกันหลากหลายจริงๆ เพราะมี Plug-in ต่างๆให้เลือกใช้มากมาย Theme ก็มีผู้พัฒนาเต็มไปหมด เป็น open source web software ที่เราสามารถติดตั้งบนเว็บ server ของเราเพื่อสร้างเว็บไซต์ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Joomla ประเภท CMS Software Joomla ถือว่าเป็น CMS ที่ดูเป็น CMS จริงๆ เหมาะสำหรับในการสร้างเว็บไซต์ทั่วๆไป ชื่อนี้คุ้นหูวงการ ทำเว็บไซต์บ้านเรามากมาย เพราะเว็บไซต์ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะ เว็บไซต์หน่วยงาน ต่างๆ มักจะใช้งาน CMS ตัวนี้ เพราะถูก ออกแบบมาให้รองรับกับเทคโนโลยีการ ออกแบบเว็บไซต์ สมัยใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการรองรับ Flash หรือ GIF Animation นอกจากนี้และยังสามารถ Download Template ได้อย่างมากมาย มีทั้งแบบที่สามารถนำมาใช้งานได้ฟรี และแบบเสียเงิน CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

PhpBB ถือเป็น CMS ประเภท Webboard ที่นิยมมากที่สุดตัวหนึ่งใน บ้านเราก็ว่าได้ เป็นโปรแกรมระบบกระดานสนทนาบน อินเทอร์เน็ตแบบโอเพนซอร์ส ทำงานด้วยภาษาพีเอชพี ควบคู่ กับระบบฐานข้อมูล โดยรับรองการทำงานของฐานข้อมูล หลากหลายชนิด ด้วยความแพร่หลายของภาษาพีเอชพีและระบบ ฐานข้อมูล MySQL รวมถึงการติดตั้งที่ง่าย และไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการจัดหา ทำให้ phpBB ได้รับความนิยมแพร่หลาย ในอินเทอร์เน็ต   CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Prestashop เป็น CMS ประเภท eCommerce พัฒนาโดย eBay เหมาะสำหรับผู้ ที่ต้องการสร้างเว็บไซต์เอาไว้ใช้ขายของโดยเฉพาะ เป็นฟรี ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้สร้างเว็บไซต์สำหรับขายของออนไลน์ มีเว็บไซต์ขายของออนไลน์ที่ประสบความสำเร็จจากการ ใช้ Prestashop มากกว่า 150,000 เว็บไซต์ ด้วยคุณสมบัติที่ ตอบสนองการเป็นร้านค้าออนไลน์มากกว่า 310 คุณสมบัติ   CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ข้อดีของ CMS  1. ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการทำเว็บไซต์ เพียงแค่ เคยพิมพ์ หรือเคยโพสข้อความในอินเทอร์เน็ต ก็สามารถมี เว็บไซต์เป็นของตัวเองได้  2. ไม่เสียเวลาในการพัฒนาเว็บไซต์ ไม่เสียเงินจำนวนมาก  3. ง่ายต่อการดูแล เพราะมีระบบจัดการทุกอย่างให้เราหมด  4. มีระบบจัดการที่เราสามารถหามาใส่เพิ่มได้มากมาย อย่างเช่น ระบบแกลลอรี่  5. สามารถเปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ง่ายๆ เพียงแค่โหลดทีม (Theme) ของ CMS นั้นๆ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ข้อเสียของ CMS  1.ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการออกแบบทีม (หน้าตาของเว็บ) เอง จะต้องใช้ความรู้มากกว่าปรกติ เนื่องจาก CMS มีหลายๆระบบมา รวมกันทำให้เกิดความยุ่งยาก สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้  2.ผู้ใช้จะต้องศึกษาระบบ CMS ที่ผู้พัฒนาสร้างขึ้นมา เช่นจะต้อง ใส่ข้อความลงตรงไหน จะต้องแทรกภาพอย่างไร ซึ่งจะลำบาก เพียงแค่ช่วงแรกเท่านั้น  3.ในการใช้งานจริงนั้นจะมีความยุ่งยากในการ set up ครั้งแรก กับ web server แต่ปัจจุบันก็มีผู้บริการ web server มากมายที่ เสนอลงและ set up ระบบ CMS ให้ฟรีๆโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย  CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Wordpress CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

WordPress คืออะไร  WordPress หรือจะเรียกย่อๆ ในบางครั้งเป็น WP คือ โปรแกรม สำเร็จรูปที่มีไว้เพื่อสร้างและจัดการเนื้อหาบนอินเตอร์เน็ต ( Contents Management System หรือ CMS) กล่าวคือ แทนที่ เราจะดาวโหลดโปรแกรมมาทำการสร้างและออกแบบเว็บไซต์บน เครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา สะดวกต่อการใช้งาน คุณไม่ต้องเริ่มสร้างเว็บจาก 0 ไม่ จำเป็นต้องมีความรู้ทางโปรแกรมเมอร์ เพราะระบบมีทุกอย่างไว้ ให้ คุณมีหน้าที่เพียงแค่ใส่เนื้อหาของคุณเข้าไป CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

CMS ทำไมต้อง Wordpress 2. WordPress มี Plugins มากมายนับหมื่น 3. ใช้งานง่าย อัพเดทบทความง่าย 4. Google ชอบ 5. สงสัยเรื่องการใช้งาน ก็หาคำตอบได้ง่าย CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

CMS ทำไมต้อง Wordpress คิดก่อนว่าคุณจะทำเว็บไซต์อะไร หาธีมที่คุณชอบ ติดตั้ง WordPress และ ติดตั้งธีม ติดตั้งปลั๊กอินเสริม (หากจำเป็น) CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

WordPress เหมาะกับเว็บไซต์แบบไหน เว็บบล็อก เหมาะมากสุดๆ เป็น cms ที่บล็อกเกอร์ใช้งานมากที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้ เว็บ เขียนบทความต่างๆ รีวิวโรงแรม ร้านอาหาร งานฝีมือ แอปมือถือ ฯลฯ เว็บข่าว เว็บวาไรตี้ การจัดหมวดหมู่และแท็ก ( Categories, Tags ) ใน WordPress นั้น ช่วยได้ง่ายมากๆ เว็บ Portfolio เป็นผลมาจากการผสมเว็บบล็อก + Custom post type แบบ Portfolio ทำให้เกิด Post 2 ลักษณะนำมาใช้งานร่วมกัน เว็บบริษัท มีธีมที่ดูน่าเชื่อถือ เป็น Professional ให้เลือกมากมาย มีเครื่องมือครบครัน โดยเราแทบไม่ต้องจ้างออกแบบเพิ่ม เว็บไซต์ e-commerce ขายเสื้อผ้า ปลากระป๋อง หรืออะไรก็แล้วแต่ เว็บไซต์ที่ต้องการความแรงในด้าน seo เพราะ WP ถือว่าเด่นในเรื่องนี้มากๆ เขียน เล่นๆ ก็ติดผลการค้นหาใน Google ได้ เว็บไซต์ที่มีหลายภาษา WordPress นั้นถูกแปลทั่วโลกรวมทั้ง ภาษาไทย และยังมีปลั๊ก อินที่ช่วยจัดการเนื้อหาสำหรับเว็บไซต์ที่ต้องการใช้หลายภาษาด้วย CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ด้วย WordPress 1. มองหา Hosting 2. ต้องมี Domain Name 3. อัพโหลด WordPress เข้าสู่เว็บไซต์ 4. ติดตั้ง Theme (ธีม) ให้ WordPress 5. ตั้งค่า Sidebar, Footer และ Header 6. ตั้งค่าพื้นฐานของเว็บไซต์ให้สมบูรณ์ 7.ตั้งค่าการแสดงคอมเมนท์ 8. สร้างหน้าเพจ 9. เขียนบทความ 10. Plugins (ปลั๊กอิน) CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เริ่มกันเลยค่ะ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Toolbar สำหรับแสดงเมนูลัด และ การแจ้งเตือน เช่น ปุ่ม +New สำหรับสร้างโพสหรือ เพจใหม่ ปุ่ม Update แจ้งเตือนสำหรับการอัพเดต และปุ่ม Home สำหรับกด สลับระหว่างหน้าเว็บไซต์กับ Dashboard CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Screen Option ส่วนประกอบที่ใครๆ หลายคนไม่ให้ความสำคัญแต่จริงๆ แล้วสำคัญมากเช่นกัน มันคือหน้าต่างเล็กๆ ที่ถูกซ่อนไว้ ซึ่งภายในนั้นมีเครื่องมือต่างๆ มากมายที่ไม่ ปรากฏให้เห็นในบางครั้ง ใช่แล้ว มันคือแท็บเมนูที่ใช้แสดงหรือซ่อนเครื่องมือ ต่างๆ ในหน้านั้นๆ ถ้าเป็น Photoshop มันก็เปรียบเทียบได้กับเมนู Window CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Dashboard > Home คือเมนูที่เป็นหน้า Home ของ Dashboard ที่เป็นทั้งหน้าทางลัดต่างๆ สามารถ เขียนโพสแบบเร็วๆ ได้จากหน้านี้เลย สรุปเกี่ยวกับบทความและกิจกรรมต่างๆ ในเว็บ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Dashboard > Update รวมการอัพเดตต่างๆ ทั้ง WordPress, Plugin และ Theme CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard การ Update ใน WordPress CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard การเขียนบทความใน WordPress Post (บทความ) Page (หน้า) CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Post (บทความ) Post นั้นก็เหมือนการเขียนบล็อก ที่จะนำแต่ละ Post มาจัดหมวดหมู่ (Categories) ได้ และนำมาเรียงกันในหน้า รวม Post CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Page (หน้า) Page นั้นปกติใช้สร้างเป็นหน้าหลักเดี่ยวๆ ที่จะสร้าง เป็นหน้าเพจ เช่น หน้าติดต่อ หน้าประวัติ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard ความแตกต่างระหว่าง Post และ Page Post จริงๆ แล้วก็จัดได้ว่าเป็นเพจประเภทหนึ่ง เป็นลักษณะของการเขียน บทความทั่วไป มีการจัดหมวดหมู่ (Categories) มีแท็ก (Tags) ในการจัดกลุ่ม ของบทความ ซึ่งบทความประเภทนี้ก็จะเรียงตามวันที่มีการ Publish (เผยแพร่) สามารถเรียกดูบทความทั้งหมดได้จาก ผู้เขียน หมวดหมู่ แท็ก วันที่ เดือน ปี เรียกได้ว่า Post นั้นมีความเชื่อมโยงกันภายในอยู่แล้วค่ะ Page นั้นจะไม่มีการเชื่อมโยงกับบทความใดๆ เลย ไม่ว่าจะด้วย Post หรือ Page ด้วยกันเอง ไม่มี categories หรือแท็ก ไม่เรียงตาม วัน เดือน ปี ใดๆ ทั้งสิ้น การจะดึง Page ขึ้นมาแสดงนั้น ต้องสร้างลิงค์เพื่อเชื่อมโยงไปที่ page นั้นๆ เอง ส่วนใหญ่มักใช้สำหรับทำหน้า about, contact CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Media จัดการควบคุมไฟล์สื่อ Media ต่างๆ ในเว็บของเราทั้งหมด ทั้งไฟล์ภาพ เสียง วิดีโอ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Comments CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Appearance จัดการเกี่ยวกับรูปแบบของเว็บโดยเฉพาะ Theme, Widget, Menu, Header, Background ต่างๆ ทั้งนี้ อยู่ที่การตั้งค่าของแต่ละธีมด้วย CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Theme (ธีม) เปรียบเสมือนหน้ากากของเว็บ ซึ่ง WordPress นั้นขึ้นชื่อว่าเน้นใน เรื่องของความสวยงามอยู่แล้ว ธีมส่วนใหญ่ถูกออกแบบมาให้สวยงามสะอาดตาและ ง่ายต่อการใช้งาน CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Widget พื้นที่ที่เรียกว่า Header, Sidebar, Footer CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Menu เมนู นั้นเปรียบเสมือนป้ายบอกทาง CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Plugins CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Users ใช้จัดการผู้ใช้ในเว็บ ทั้ง Admin, Autor ผู้เขียน, Subscriber ผู้ติดตาม หรือ อื่นๆ แล้วแต่เราจะอนุญาติ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Tools เครื่องมือที่ ปกติจะมีเครื่องมีที่ใช้ในการ Import, Export เว็บไซต์ และปลั๊กอิน บางตัวก็เพิ่มเข้ามาใน Tools เช่น Search & Replace CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของ หน้าควบคุม หรือ Dashboard Settings เป็นเมนูที่ใช้ตั้งค่าต่างๆ ในของเว็บ CMS ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย