บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
Market System Promotion & Development Devision
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
R & R Studio Program Installation.
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
โครงสร้างและการทำงานของระบบประสาท สมอง และเส้นประสาทสมอง
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
Factors influencing selection of marine merchant in coastal transport
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
อาณาจักรสัตว์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
ระบบขับถ่าย (Excretion). ระบบขับถ่าย (Excretion)
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
THE HEART 1. เป็นก้อนกล้ามเนื้อเป็นโพรงข้างในมี 4 ช่อง ขนาดกำปั้นมือ ตั้งอยู่ใน Pericardial sac , Posterior ต่อ Sternum , เอียงซ้าย Apex อยู่ส่วนล่าง.
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai

บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทำงานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทำงานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และเปรียบเทียบ วิธีการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิด

8.1 การรับรู้และการตอบสนอง ขณะที่อากาศร้อนจัด ร่างกายจะขับเหงื่อออกมามาก เมื่อเข้าไปในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศจะรู้สึกเย็นสบาย และมีเหงื่ออกน้อยลง แสดงว่า ร่างกายมีระบบที่รับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดการรับรู้ไปยังหน่วยแปลความรู้สึก พร้อมทั้งออกคำสั่งให้หน่วยปฏิบัติงานทำงาน

การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต หน่วยแปลความรู้สึก สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก หน่วยสั่งการ การตอบสนองสิ่งเร้า หน่วยปฏิบัติการ

การรับรู้และการตอบสนอง การตอบสนองของสัตว์จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาท (nervous system) และ ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดเร็ว เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้การเกิดการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ระบบต่อมไร้ท่อจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดช้ากว่า แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การเจริญของเซลล์ไข่ในรังไข่ แม้ทั้ง 2 ระบบ จะทำงานแตกต่างกันแต่ทำงานสัมพันธ์กัน จึงเรียกว่า ระบบประสานงาน (coordinating system)

8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว Paramecium สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือสารเคมีได้ แสดงว่า สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีเซลล์ประสาท สิ่งมีชีวิตดังกล่าวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ? จากการศึกษาพบว่า ใต้ผิวของเซลล์พารามีเซียมมีเส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber)

http://school.obec.go.th/saneh/k/ka12.html

Coordinating fiber of paramecium http://userwww.sfsu.edu/~biol240/labs/lab_06protists/pages/cilia.html

8.2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด Invertebrate มีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกัน เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ำ (sponge) มีการับรู้และการตอบสนอง แต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ Hydra มีร่างแหประสาท (nerve net) ประกอบกันด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกัน http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Ethology/simplenervoussystpix.htm

http://sps.k12.ar.us/massengale/sponges__cnidarian_notes_b1.htm http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Ethology/simplenervoussystpix.htm

Nervous systems in radially symmetrical animals. http://www.estrellamountain.edu/faculty/farabee/biobk/BioBookNERV.html

พลานาเรีย (Planaria) เซลล์ประสาทรวมตัวเป็นกลุ่ม โดยเฉพาะที่หัว เรียกว่า ปมประสาท (nerve ganglion) หรืออาจเรียกว่า สมอง (brain) มีเส้นประสาทใหญ่ (nerve cord) ขนาดไปตามข้างลำตัว ลักษณะแบบขั้นบันได (ladder type) เชื่อมกันด้วยเส้นประสาทที่วนรอบลำตัว (nerve ring) http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif

พลานาเรีย (Planaria) http://www.anselm.edu/homepage/jpitocch/genbios/33-10-PlanarianAnatomy-L.gif

ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง มีปมประสาทขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่เป็นสมองอยู่ด้านหัว http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html

http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif

http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif

http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif

Some nervous systems in bilaterally symmetrical animals. http://www.estrellamountain.edu/faculty/farabee/biobk/BioBookNERV.html

Vertebrate มีระบบประสาท (nervous system) พัฒนามาก เซลล์ประสาท (nerve cell) เกือบทั้งหมดอยู่ที่หัว ขนาดใหญ่ และเจริญมาก พัฒนาไปเป็น สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) เส้นประสาท (nerve) http://www.ammo-oracle.com/images/cns.jpg

Development and Differentiation of the Neural Tube http://www.uoguelph.ca/zoology/devobio/210labs/neuraldevel1.html

สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะเป็นเอ็มบริโอ http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html

http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html

Vertebrates ต่อไปนี้มีสมองส่วนใดเจริญได้ดีที่สุด ? Fish Amphibian Reptile Bird Dog Mammal

References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. http://school.obec.go.th/saneh/k/ka12.html http://faculty.washington.edu/chudler/invert.html

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao