บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทำงานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทำงานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และเปรียบเทียบ วิธีการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์มีกระดูกสันหลังบางชนิด
8.1 การรับรู้และการตอบสนอง ขณะที่อากาศร้อนจัด ร่างกายจะขับเหงื่อออกมามาก เมื่อเข้าไปในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศจะรู้สึกเย็นสบาย และมีเหงื่ออกน้อยลง แสดงว่า ร่างกายมีระบบที่รับรู้ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดการรับรู้ไปยังหน่วยแปลความรู้สึก พร้อมทั้งออกคำสั่งให้หน่วยปฏิบัติงานทำงาน
การรับรู้การเปลี่ยนแปลงต่อสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิต หน่วยแปลความรู้สึก สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก หน่วยสั่งการ การตอบสนองสิ่งเร้า หน่วยปฏิบัติการ
การรับรู้และการตอบสนอง การตอบสนองของสัตว์จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง ระบบประสาท (nervous system) และ ระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ระบบประสาทจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดเร็ว เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ ทำให้การเกิดการเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว ระบบต่อมไร้ท่อจะควบคุมการตอบสนองที่เกิดช้ากว่า แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น การเจริญของเซลล์ไข่ในรังไข่ แม้ทั้ง 2 ระบบ จะทำงานแตกต่างกันแต่ทำงานสัมพันธ์กัน จึงเรียกว่า ระบบประสานงาน (coordinating system)
8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว Paramecium สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่าง อุณหภูมิ หรือสารเคมีได้ แสดงว่า สามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีเซลล์ประสาท สิ่งมีชีวิตดังกล่าวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ? จากการศึกษาพบว่า ใต้ผิวของเซลล์พารามีเซียมมีเส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคนซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน (coordinating fiber)
http://school.obec.go.th/saneh/k/ka12.html
Coordinating fiber of paramecium http://userwww.sfsu.edu/~biol240/labs/lab_06protists/pages/cilia.html
8.2 การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด Invertebrate มีการรับรู้และตอบสนองแตกต่างกัน เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ำ (sponge) มีการับรู้และการตอบสนอง แต่ไม่มีการประสานงานระหว่างเซลล์ Hydra มีร่างแหประสาท (nerve net) ประกอบกันด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกัน http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Ethology/simplenervoussystpix.htm
http://sps.k12.ar.us/massengale/sponges__cnidarian_notes_b1.htm http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Ethology/simplenervoussystpix.htm
Nervous systems in radially symmetrical animals. http://www.estrellamountain.edu/faculty/farabee/biobk/BioBookNERV.html
พลานาเรีย (Planaria) เซลล์ประสาทรวมตัวเป็นกลุ่ม โดยเฉพาะที่หัว เรียกว่า ปมประสาท (nerve ganglion) หรืออาจเรียกว่า สมอง (brain) มีเส้นประสาทใหญ่ (nerve cord) ขนาดไปตามข้างลำตัว ลักษณะแบบขั้นบันได (ladder type) เชื่อมกันด้วยเส้นประสาทที่วนรอบลำตัว (nerve ring) http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif
พลานาเรีย (Planaria) http://www.anselm.edu/homepage/jpitocch/genbios/33-10-PlanarianAnatomy-L.gif
ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง มีปมประสาทขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่เป็นสมองอยู่ด้านหัว http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html
http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif
http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif
http://cas. bellarmine http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Laboratories/Bio%20Pix%204%20U/Image50.gif
Some nervous systems in bilaterally symmetrical animals. http://www.estrellamountain.edu/faculty/farabee/biobk/BioBookNERV.html
Vertebrate มีระบบประสาท (nervous system) พัฒนามาก เซลล์ประสาท (nerve cell) เกือบทั้งหมดอยู่ที่หัว ขนาดใหญ่ และเจริญมาก พัฒนาไปเป็น สมอง (brain) ไขสันหลัง (spinal cord) เส้นประสาท (nerve) http://www.ammo-oracle.com/images/cns.jpg
Development and Differentiation of the Neural Tube http://www.uoguelph.ca/zoology/devobio/210labs/neuraldevel1.html
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังขณะเป็นเอ็มบริโอ http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html
http://school.obec.go.th/saneh/k/ka13.html
Vertebrates ต่อไปนี้มีสมองส่วนใดเจริญได้ดีที่สุด ? Fish Amphibian Reptile Bird Dog Mammal
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. http://school.obec.go.th/saneh/k/ka12.html http://faculty.washington.edu/chudler/invert.html
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao