ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Advertisements

ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ( File System)
ผู้สอน ครูวาสนา พลทองมาก โรงเรียนบ้านบึงสามัคคีกำแพงเขต
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
Computer Components CPU: Intel Core i5-3210M (2.50 GHz, up to 3.10 GHz , 3MB cache) Display: 15.6 inch (1366x768) High Definition (1080p) LED Display Graphic:
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Computer What are they? – อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ที่ทำงานภายใต้คำสั่งงานที่เก็บอยู่ ในหน่วยความจำ โดยคอมพิวเตอร์ จะ สามารถรองรับ ข้อมูล หรือ Input ทำการประมวลผล.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Computer Architecture
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
CPU – ARM - Cortex. CPU A4, A5 ของ Apple, Tegra2, Snapdragon, OMAP, คุณรู้ไหมครับว่า CPU พวกนี้แท้จริง แล้วก็ถูกสร้างมาด้วยพื้นฐานสถาปัตยกรรม เดียวกันชื่อว่า.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ระบบคอมพิวเตอร์.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
CPU.
Chapter 12 Microprocessor without Interlocked Pipeline Stages (MIPS)
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill 01/12/61.
ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
อ.พิณรัตน์ นุชโพธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และภาษาซี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และการประมวลผลข้อมูล (Introduction to Computer and Data Processing) บทที่ Business Computer & Information.
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น โรงเรียนขัติยะวงษา จังหวัดร้อยเอ็ด

หัวข้อการเรียนรู้ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่

บทนำ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยความจำ (Memory) อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Units) และอุปกรณ์แสดงผล (Output Unit) ในบทนี้เราจะเริ่มพิจารณาการเชื่อมโยงของอุปกรณ์ต่าง ๆ และโครงสร้างภายในขององค์ประกอบเหล่านั้น

หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลางมีหน้าที่ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยหน่วยประมวลผลกลางจะทำงานตามโปรแกรมที่ระบุโดยผู้ใช้ ขั้นตอนการทำงานของหน่วยประมวลผลกลางมีลักษณะเป็นวงรอบ โดยขั้นแรกหน่วยประมวลผลกลางจะอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำ (fetch) จากนั้นหน่วยประมวลผลกลางจะตีความคำสั่งนั้น (decode) และในขั้นตอนสุดท้ายหน่วยประมวลผลกลางก็จะประมวลผลตามคำสั่งที่อ่านเข้ามา (execute) เมื่อทำงานเสร็จหน่วยประมวลผลก็จะเริ่มอ่านคำสั่งเข้ามาอีกครั้ง Decode Fetch Execute

การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ บัส (Bus) : ช่องทางสื่อสาร อุปกรณ์ต่าง ๆ จะเชื่อมต่อกับโดยผ่านทางกลุ่มของสายสัญญาณ ที่เราเรียกว่า “บัส” อุปกรณ์ต่าง ๆ จะส่งและรับสัญญาณผ่านทางกลุ่มสายสัญญาณชุดเดียวกัน CPU Memory I/O Data bus Control bus Address bus

การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ การอินเตอร์รัพท์ (Interrupt) การอินเตอร์รัพท์ หรือการขัดจังหวะ คือการสั่งให้หน่วยประมวลผลหยุดการทำงานชั่วคราว แล้วกระโดดไปทำงานบางอย่างเพื่อตอบสนองการขัดจังหวะนั้น ตัวอย่างของการขัดจังหวะ เช่น อุปกรณ์บางชิ้นได้รับข้อมูล หรือ ข้อมูลได้รับเขียนเก็บลงในฮาร์ดดิสก์เรียบร้อยแล้ว เป็นต้น เมื่อหน่วยประมวลผลตอบสนองการขัดจะหวะเรียบร้อยแล้ว ก็จะคืนสู่สถานะเดิมและกลับไปประมวลผลงานเก่าที่ประมวลผลค้างไว้ เสมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น การขัดจังหวะนี้มีสองประเภทคือซอฟต์แวร์อินเตอร์รัพท์และฮาร์ดแวร์อินเตอร์รัพท์ เรานิยมใช้ซอฟต์แวร์อินเตอร์รัพท์ในการเรียกใช้การบริการต่าง ๆ ของระบบ ส่วนฮาร์ดแวร์อินเตอร์รัพท์จะนิยมใช้ในการแจ้งการเปลี่ยนสถานะของอุปกรณ์อินพุตเอาท์พุต ต่าง ๆ

สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เทคโนโลยีของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลแบบ RISC ชุดคำสั่งของหน่วยประมวลผลยุคเก่ามีลักษณะเป็นแบบ CISC : Complex Instruction Set Computer นั่นคือชุดคำสั่งจะหนึ่ง ๆ จะมีความซับซ้อนมาก การที่ชุดคำสั่งซับซ้อนทำให้การออกแบบส่วนควบคุมภายในหน่วยประมวลผลทำได้ยาก ในปัจจุบันหน่วยประมวลผลต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแนวทางในการพัฒนาไปเป็นแบบ RISC : Reduced Instruction Set Computer โดยเน้นชุดคำสั่งที่มีความซับซ้อนน้อยลง แต่มีความเร็วในการทำงานสูงขึ้น การทำให้ชุดคำสั่งมีรูปแบบที่ง่ายขึ้นทำให้การออกแบบส่วนควบคุมทำได้ง่ายขึ้น และยังทำให้สามารถใช้วิธีการแบบไปป์ไลน์ (Pipeline) และซูปเปอร์สเกลาร์ (Superscalar) ในการเพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยประมวลผลได้ง่ายขึ้นด้วย

สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เทคโนโลยีของหน่วยประมวลผลกลาง ไปป์ไลน์ (Pipeline) หน่วยประมวลผลรุ่นใหม่จะมีการประมวลผลแบบไปป์ไลน์ กล่าวคือจะมีการ Fetch decode และ execute คำสั่งเหลื่อมกัน การประมวลผลเหลื่อมกันนี้ทำให้ประสิทธิภาพของการประมวลผลสูงขึ้นมาก

สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เทคโนโลยีของหน่วยประมวลผลกลาง ซูเปอร์สเกลาร์ (Superscalar) ในหน่วยประมวลผลที่มีประสิทธิภาพสูงบางรุ่น จะประมวลผลชุดคำสั่งหลายชุดคำสั่งได้พร้อมกัน การที่หน่วยประมวลผลประมวลผลคำสั่งได้หลายชุดพร้อมกันนี้เรียกว่า ซูเปอร์สเกลาร์

สถาปัตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ระบบบัสสมัยใหม่ การใช้หน่วยความจำที่มีความเร็วสูงมากขนาดเล็กมาเป็นบัฟเฟอร์ (ที่พักข้อมูลชั่วคราว) ระหว่างหน่วยความจำและหน่วยประมวลผล หน่วยความจำที่มีความเร็วสูงนี้เรียกว่า หน่วยความจำแคช (cache memory) ในหน่วยประมวลผลปัจจุบันหลายรุ่น ได้มีการบรรจุหน่วยความจำแคชลงไปภายในไมโครโปรเซสเซอร์ด้วยลักษณะของบัสที่มีการใช้หน่วยความจำแคช

สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะประกอบไปด้วยส่วนที่สำคัญอยู่ 2 ส่วน ด้วยกัน คือสถาปัตยกรรม( Computer Architecture) และออร์กาไรเซชั่นคอมพิวเตอร์ (computer organization) สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture) คือ ลักษณะต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้ๆทั่วไปสามารถ มองเห็นได้และจะมีผลต่อกระบวนการทำงานของคอมพิวเตอร์ ออร์กาไนเซชั่นคอมพิวเตอร์ (Computer organization) คือ กระบวนการการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีการคำนึงถึง สถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์ โครงสร้าง และหน้าที่คอมพิวเตอร์ • โครงสร้าง คือวิธีที่อุปกรณ์ต่างๆ เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน • หน้าที่คือ การทำงานของส่วนประกอบแต่ละส่วนซึ้งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง หน้าที่การทำงาน โดยพื้นฐานของคอมพิวเตอร์แล้วจะประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักๆอยู่ 4 ส่วนด้วยกันคือ การประมวลผลข้อมูล (Data processing Facility) ส่วนเก็บข้อมูล (Data Storage Facility) ส่วนเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data movement Apparatus) ส่วนการควบคุม (Control mechanism)

ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ คือ  องค์ประกอบที่จะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว เครื่อง คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ระบบของคอมพิวเตอร์จะประกอบไปด้วย 5 ประการคือ 1. Hardware 2. Software 3. Peopleware 4. Data 5. Procedure

ระบบคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ 1. คอมพิวเตอร์ระดับใหญ่(Mainframe Computer) 2. คอมพิวเตอร์ระดับเล็ก(Mini Computer) 3. คอมพิวเตอร์ระดับยิ่งใหญ่ (Supper Computer) 4. คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล(PC: Personal Computer) 5. คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก(Note Book) 6. คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เลขาส่วนตัว หรือ พีดีเอ (PDA: Personal Digital Assistant) 7. คอมพิวเตอร์เครือข่าย(Net)

ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์(Hardware) - หน่วยรับข้อมูลหรืออินพุต (Input Unit) - หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) - หน่วยเก็บข้อมูล (Storage) หน่วยเก็บข้อมูลหรือความจำหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) - หน่วยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต (Output Unit)

โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์

โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ด้านอินพุต/เอาต์พุต

ซอฟต์แวร์ - ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (OS : Operating System) โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator Program) ยูทิลิตี้หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) - ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package) - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

บุคลากร (Peopleware) - ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบ (System Analysis and Design) - โปรแกรมเมอร์ (Programming) - ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) - ผู้ปฏิบัติการ (Operator) - ผู้ใช้ (User) - ผู้บริหาร (Manager)

โมเดลของ von Neumann ของคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล

Desktop Computer