“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม 2550 ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี แก้ทุกปัญหาการส่งออก
การเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบ้าน ในปัจจุบัน เศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน (GMS) การสนับสนุนการส่งออกและลงทุน ในต่างประเทศ
การเปลี่ยนแปลงของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน ราชอาณาจักรกัมพูชา ห้างสรรพสินค้า ก่อสร้างถนน
ราชอาณาจักรกัมพูชา โรงแรม
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขื่อน ร้านอาหาร
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โรงแรม สะพานข้ามแม่น้ำโขงระหว่างชาติแห่งที่ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต)
สหภาพพม่า โรงงานน้ำตาล
สหภาพพม่า สถานที่ท่องเที่ยว โรงงานอาหารแปรรูป
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ท่าเรือดานัง ชายแดนเวียดนาม-ลาว
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ที่พักอาศัย เหมืองเชื้อเพลิง
เศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบ้าน (GMS) VIETNAM GMS คืออะไร ภูมิภาครอบลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน+กวางสี) มีโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง -- Greater Mekong Subregion หรือ GMS ตั้งแต่ปี 2535 โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) เป็นผู้ให้การสนับสนุนหลัก จีน (ยูนนาน) เวียตนาม พม่า ลาว ไทย กัมพูชา
GMS (ต่อ) วัตถุประสงค์ของ GMS ขนาดของ GMS ส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางการค้า การลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร และบริการ สนับสนุนการจ้างงานและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้น ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่างกัน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถรวมทั้งโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก ขนาดของ GMS พื้นที่รวมกันประมาณ 2 ล้าน 3 แสน ตารางกิโลเมตร หรือประมาณพื้นที่ของยุโรปตะวันตก ประชากรรวมกันประมาณ 300 ล้านคน หรือประมาณ 5% ของประชากรโลก
โอกาสทางการค้าและการลงทุนใน GMS 2005 2006 2007 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) เอเชียตะวันออก* 8.3 8.7 8.0 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5.6 6.0 เอเชียใต้ 7.7 อัตราการขยายตัวการส่งออก (%) 19.0 13.6 15.1 17.9 10.0 20.8 18.8 14.9 มีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ เป็นจุดศูนย์กลางในการเชื่อมโยงติดต่อระหว่างภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ ที่มา: Asian Development Outlook 2007, ADB หมายเหตุ * ไม่รวมญี่ปุ่น
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) Available : Tin, Fisheries Product Needs : Manganese, Iron Available : Copper, Lead, Zinc, Tin, Iron Needs : Powdered Ores, Timber, Fisheries Product MYANMAR YUNNAN GUANGXI CHINA VIETNAM LAOS THAILAND CAMBODIA Available : Crude Oil, Gas, Coal, Apatite Needs : Steel, Refined Oil Available : Gas, Teak, Gemstone Needs : Refined Oil Available : Timber, Hydropower, Tin Needs : Fuel Available : Rubber, Fisheries Product Needs : Fuel Available : Timber, Fisheries Product, Gemstone Needs : Fuel Source : CIA- The World Factbook, The Economist Intelligence Unit
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) ไทย : ยางพารา (ผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก) ลาว : ไม้ (ทรัพยากรป่าไม้สมบูรณ์ที่สุดในเอเชีย) พม่า : ก๊าซธรรมชาติ (ผู้ส่งออกอันดับ 4 ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้) , ไม้สัก (60% ของปริมาณ สำรองในโลก) เวียดนาม : น้ำมันดิบ (ผู้ส่งออกอันดับ 3 ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้) กัมพูชา : ประมง (ผู้ส่งออกอันดับ 4 ในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้) ยูนนาน (จีน) : ทองแดง (แหล่งผลิตใหญ่อันดับ 2 ของจีน), ตะกั่ว, สังกะสี และ ดีบุก (แหล่งผลิตใหญ่ที่สุดของจีน)
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) นโยบายเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเพิ่มขึ้น เปิดประเทศมากและเข้าสู่ระบบตลาดมากขึ้น มีนโยบาย ปฏิรูปเศรษฐกิจ เข้าร่วมเป็นสมาชิก ASEAN และ WTO ทำให้การค้า และการลงทุนมีความเป็นเสรีมากขึ้นเป็นลำดับ
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) ไทย 1960 : ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดมากขึ้น 1982 : สมาชิก GATT (WTO) จีน 1978 : เริ่มใช้นโยบาย 1 ประเทศ 2 ระบบ 2001 : สมาชิก WTO เวียดนาม 1975 : รวมประเทศ ภายใต้ระบอบสังคมนิยม 1986 : นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ (Doi Moi) 1995 : สมาชิก ASEAN และเพิ่งเป็นสมาชิก WTO เมื่อ ม.ค.2007 ลาว 1975 : พรรคคอมมิวนิสต์เป็นรัฐบาล 1986 : เริ่มใช้กลไกเศรษฐกิจใหม่ 1997 : สมาชิก ASEAN กัมพูชา 1985 : เริ่มใช้นโยบายเศรษฐกิจตลาด 1993 : ประชาธิปไตยที่มีรัฐสภา 1999 : สมาชิก ASEAN และ สมาชิก WTO ในปี 2004 พม่า 1989 : นโยบายเปิดประเทศ
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) ความร่วมมือภายใต้ GMS โดยการสนับสนุนของ ADB ช่วยส่งเสริมศักยภาพและการขยายตัวของภูมิภาค โครงการสำคัญที่ช่วยเชื่อมโยงการขนส่ง/คมนาคมในภูมิภาค การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor) – เชื่อมโยงไทย-พม่า/ลาว-จีน การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) – เชื่อมโยงพม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม การพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) – เชื่อมโยง ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม
North-South Economic Corridor VIETNAM North-South Economic Corridor Mekong River East-West Economic Corridor Southern Economic Corridor
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) โครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารที่มีการพัฒนาต่อเนื่อง GMS countries Fixed-line Mobile Internet Cambodia Duopoly Competition Unclear Lao PDR Duopoly Competition Competition Myanmar Duopoly Monopoly Duopoly (Monopoly for international) Vietnam Competition Competition Partial (Monopoly for competition international) Thailand Partial Partial Competition competition competition
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) มีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ ส่งผลให้การค้าและการลงทุนในภูมิภาคคึกคักขึ้น Per capita GDP (PPP current price) 1 การค้าระหว่างประเทศ (X+M) พันล้าน USD 2/ การลงทุนโดยตรง (ล้าน USD)3/ 2000 2006 %+/ - ไทย 6,182 9,084 +47 130.98 259.18 +98 3,366 8,837 +163 จีน 3,913 7,598 +94 409.68 1278.4 +212 38399 69468 +81 เวียดนาม 2,037 3,367 +65 30.12 84.02 +179 1,218 4,100 +216 ลาว 1,570 2,304 0.87 2.07 +139 34 650 +1817 กัมพูชา 1,867 3,170 +70 3.33 8.67 +161 149 318 (2005) +114 พม่า 1,074 2,161 +101 4.05 6.60 +63 258 n/a -- ที่มา : 1/ WEO Apr-2007, 2/ WTO และ 3/ ADO 2007
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) โอกาสและแนวโน้มยังคงสดใส เศรษฐกิจและการค้ายังขยายตัวดี GDP (%) การนำเข้า (%) การส่งออก (%) 2007 2008 ไทย 4.0 5.0 8.0 10.0 7.9 8.9 จีน 9.8 18.0 17.0 16.0 เวียดนาม 8.3 8.5 14.5 16.4 19.0 ลาว 6.8 6.5 30.0 67.0 15.3 31.0 กัมพูชา 9.5 9.0 15.8 12.4 14.3 9.4 พม่า n/a ที่มา : ADO 2007, ADB
โอกาสทางการค้าและการลงทุน (ต่อ) ยังมีโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ โดยเฉพาะด้านพลังงาน และโครงข่ายการขนส่ง ที่กำลังดำเนินการใน GMS ภายใต้การสนับสนุนของ ADB อีกหลายพันล้าน USD เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่ลาว (น้ำเทิน 2) มูลค่าประมาณ 1,200 ล้านUSD โครงการก่อสร้างระบบจัดส่งไฟฟ้าที่เวียดนาม (Northern Power Transmission Sector Project) มูลค่าประมาณ726 ล้านUSD โครงการก่อสร้างทางด่วน (Nanning-Baise expressway)ในจีน มูลค่าประมาณ 600 ล้านUSD โครงการสร้างถนนเชื่อมระหว่างจีนกับลาว (Kunming-Mohan section Lao PDR border) มูลค่าประมาณ 770 ล้านUSD
การสนับสนุนการส่งออกและลงทุนในต่างประเทศ บริการทางการเงิน สินเชื่อหมุนเวียน สินเชื่อระยะปานกลาง และระยะยาว (ทั้งบริษัทไทยและผู้ว่าจ้างบริษัทไทย) บริการทางการเงิน ครบวงจร บริการประกัน การส่งออก บริการประกัน การลงทุน ในต่างประเทศ บริการออกหนังสือ ค้ำประกัน
แผนงานและโครงการที่สำคัญ ช่วยสนับสนุนให้เกิดนิคมอุตสาหกรรมในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น นิคมอุตสาหกรรมปอยเปต ประเทศกัมพูชา เพื่อประโยชน์ของการใช้วัตถุดิบแรงงานและสิทธิพิเศษทางการค้าของประเทศเพื่อนบ้าน สนับสนุนผู้ประกอบการธุรกิจบริการการส่งออก (Service Provider For Exporters) ตั้งแต่ขั้นตอนการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพสินค้าในห้องปฏิบัติการจนถึงกระบวนการ Logistics ด้านคลังสินค้าศูนย์กระจายสินค้า และการขนส่งระหว่างประเทศ จัดตั้ง EXIM International ในต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ เป็นตัวกลางในการลดปัญหาและอุปสรรคทางการค้าให้แก่ ผู้ส่งออกไทยในตลาดที่มีศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
แผนงานและโครงการที่สำคัญ (ต่อ) ส่งเสริมธุรกิจที่นำมาหรือลดการใช้เงินตราต่างประเทศ อาทิ พาณิชย์นาวี โรงแรม การผลิตไฟฟ้า สนับสนุนการทำ Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรักษาความได้เปรียบอย่างต่อเนื่องในการส่งออกสินค้าเกษตร และสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร ศึกษาและพัฒนากลไกที่จะช่วยให้การลงทุนไทย ในต่างประเทศมีความแข็งแกร่งมากขึ้น อาทิ ตั้งบริษัทเพื่อ รับหลักประกันในต่างประเทศ ร่วมลงทุนกับธนาคารท้องถิ่น สนับสนุนการออกพันธบัตรของนักธุรกิจไทยในต่างประเทศ
ธนาคารเพื่อการส่งออกและ นำเข้าแห่งประเทศไทย